Albert Einstein

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein)  นักฟิสิกส์ผู้มีชื่อเสียงในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ประเทศเยอรมนี แต่มีสัญชาติในสุดท้ายของชีวิตคือ สหรัฐอเมริกา

การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก (Ionic Compounds)

การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก สูตรและการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก เนื่องจากสารประกอบไอออนิกมีลักษณะการสร้างพันธะต่อเนื่องกันเป็นผลึก ไม่ได้อยู่ในลักษณะของโมเลกุลเหมือนในสารประกอบโคเวเลนต์ ดังนั้นสารประกอบไอออนิกจึงไม่มีสูตรโมเลกุลที่แท้จริง แต่จะมีการเขียนสูตรเพื่อแสดงอัตราส่วนอย่างต่ำของจำนวนธาตุต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบ เช่น โซเดียมคลอไรด์ เกิดจากอะตอมของธาตุโซเดียม (Na) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม และอะตอมของธาตุคลอรีน (Cl) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม จึงสามารถเขียนสูตรได้เป็น NaCl โดยการเขียนสูตรของสารประกอบไอออนิกจะเขียนนำด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนบวก ก่อน จากนั้นจึงเขียนตามด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนลบตามลำดับ

Details

การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ (Covalent Compound)

การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ (Covalent Compound) สารประกอบโคเวเลนต์เป็นโมเลกุลของสารที่เกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาสร้างพันธะโคเวเลนต์ต่อกันด้วยสัดส่วนต่าง ๆ กัน ทำให้เป็นการยากในการเรียกชื่อสาร จึงได้มีการตั้งกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ขึ้น เพื่อให้สามารถสื่อความเข้าใจถึงลักษณะโครงสร้างของสารประกอบโคเวเลนต์ได้ ตรงกัน โดยนักวิทยาศาสตร์ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ไว้ดังนี้

Details

อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)

พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีกำเนิดขึ้นมาแล้วไม่ต่ำกว่า 400 ล้านปี มีหลักฐานหลายอย่างที่ทำให้เชื่อว่าพืชมีวิวัฒนาการมาจากสาหร่ายสีเขียว กลุ่ม Charophytes โดยมีการปรับตัวจากสภาพที่เคยอยู่ในน้ำขึ้นมาอยู่บนบก ด้วยการสร้างคุณสมบัติต่าง ๆ ที่เหมาะสมขึ้นมา เช่น มีการสร้างคิวติน (cutin) ขึ้นมาปกคลุมผิวของลำต้นและใบเรียกว่า คิวทิเคิล (cuticle) เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำ และการเกิด สโทมาตา (stomata) เพื่อทำหน้าที่ระบายน้ำและแลกเปลี่ยนก๊าซ เป็นต้น

การชนและโมเมนตัม ในวิชาฟิสิกส์ 

การชนและโมเมนตัม(Collision and Momentum) โมเมนตัม        โมเมนตัม หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งมีค่าเท่ากับผลคูณระหว่างมวลและความเร็วของวัตถุ มวลเป็นปริมาณสเกลาร์แต่ความเร็วเป็นปริมาณเวกเตอร์ เมื่อนำปริมาณทั้งสองเข้าคูณด้วยกัน ถือว่าปริมาณใหม่เป็นปริมาณเวกเตอร์เสมอ ฉะนั้นโมเมนตัมจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ คือมีทั้งขนาดและทิศทาง

Details

ทำไมคนเราต้องแก่? (ในมุมมองนักวิทยาศาสตร์)

ทำไมเราต้องแก่ลง? (Mechanism of Aging) การทำงานของต่อมไร้ท่อและอวัยวะต่างๆของมนุษย์จะค่อยๆลดลงขณะที่เราอายุมากขึ้น พร้อมๆกับอาการที่บ่งบอกถึงความชราภาพของเรา อาทิ สมรรถภาพที่ถดถอย อารมณ์หงุดหงิดง่าย ผิวพรรณเหี่ยวย่น ขณะที่ HGH ลดลง จะเร่งให้กระบวนการแก่ตัวของร่างการเกิดเร็วขึ้น เห็นได้ชัดว่า HGH สำคัญมากต่อสุขภาพพลานามัยของคนชรา

Details

โปรแกรมทางคณิตศาสตร์

โปรแกรมคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่ใกล้ตัวมากที่สุด           เชื่อหรือไม่ว่า จริง ๆ แล้ว เราอาจจะใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางคณิตศาสตร์อยู่เสมอๆ โดยไม่รู้ตัว ใช่แล้ว ผู้เขียนกำลังพูดถึงเครื่องคิดเลขที่เราใช้กันอยู่บ่อย ๆ นี่แหละ นอกจากนี้ อย่างที่ทราบกันดีว่าเมื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น ก็มีการใช้โปรแกรมประยุกต์ที่เราใช้กันอยู่บ่อย ๆ อย่างโปรแกรม  Excel ซึ่งเป็นโปรแกรมตัวหนึ่งในชุดโปรแกรม Microsoft Office ที่เราคุ้นเคยนั่นเอง

Details

ประเภทของ Malware ที่กวนใจ บนคอมพิวเตอร์ ของเรา

Malware (มัลแวร์) หรือ Malicious Software คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อประสงค์ร้ายต่อคอมพิวเตอร์ ซึ่งในปัจจุบัน Malware ถูกแบ่งประเภทออกได้มากมายหลากหลายประเภทตามลักษณะพิเศษของแต่ละชนิดเช่น  Computer Virus, Worms, Trojan house, Spyware เป็นต้น

อินเทอร์เน็ตเริ่มต้นอย่างไร

ปี ค.ศ.1969 (พ.ศ.2512)  จาก โครงการ ARPANET : Advanced Research Projects Agency Network ซึ่งเป็นเครือข่ายทดลองตั้งขึ้นเชื่อมต่อระหว่างศูนย์ปฏิบัติการวิจัยของทหาร ในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา (Department of Defense หรือ DOD) กับศูนย์ปฏิบัติการวิจัยของมหาวิทยาลัยต่างๆ