การใช้กล้องจุลทรรศน์
การใช้กล้องจุลทรรศน์ ขั้นที่ 1 วางสไลด์ที่ต้องการส่องบนแท่นวางสไลด์ เปิดไฟกล้องจุลทรรศน์ ควรให้จุดวงกลมของแสงอยู่ตรงกลางใกล้เคียงกับบริเวณที่ต้องการส่องมากที่สุด
Detailsการใช้กล้องจุลทรรศน์ ขั้นที่ 1 วางสไลด์ที่ต้องการส่องบนแท่นวางสไลด์ เปิดไฟกล้องจุลทรรศน์ ควรให้จุดวงกลมของแสงอยู่ตรงกลางใกล้เคียงกับบริเวณที่ต้องการส่องมากที่สุด
Details5 ธันวาคม ของทุกปี นอกจากจะเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 แล้ว ยังเป็นอีกหนึ่งวันสำคัญ คือวันดินโลก (World Soil Day) ซึ่งเป็นอีกหนึ่งวันแห่งความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ
เทรนด์สำคัญที่อาจเรียกได้ว่าเป็นวาระระดับนานาชาติเลยก็ว่าได้ สำหรับปี 2020 นั่นก็คือ เทรนด์การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์ ภาวะโลกร้อน (Global warmin)
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งถือว่าเป็นยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ เกิดการเปลี่ยนแปลงของโลกในหลายๆด้านทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมอันนำไปสู่การปรับตัวเพื่อให้เกิดความสามารถในการแข่งขันท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ทุกประเทศทั่วโลกกำลังมุ่งสู่กระแสใหม่ของการเปลี่ยนแปลงที่เรียกว่า สังคมความรู้ (KnowledgeSociety) และระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-Based Economy) ที่จะต้องให้ความสำคัญต่อการใช้ความรู้และนวัตกรรม
Detailsอุณหภูมิและความร้อน (Temperature and Thermal ) อุณหภูมิ (Temperature) คือค่าตัวเลขที่มีความสัมพันธ์กับระดับพลังงานจลน์ภายในอะตอมในระบบองศาสัมบูรณ์ (Absolute Temperature) ระดับพลังงานที่อุณหภูมิิ 0 เคลวิน (-273C) อะตอมไม่มีพลังงานอยู่เลย ดังนั้นอนุภาคทุกอย่าง ภายในอะตอมหยุดนิ่ง แม้กระทั่งอิเล็กตรอนก็ไม่โคจรรอบนิวเคลียส แต่เมื่ออะตอมได้รับพลังงานจนมีระดับอุณหภูมิสูงขึ้น อิเล็กตรอนก็จะเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสและยกระดับชั้นวงโคจรสูงขึ้น ถ้าหากอะตอมได้รับพลังงานจนมีระดับอุณหภูมิสูงขึ้นไปอีก อิเล็กตรอนอาจจะยกตัวหลุดจากวงโคจรกลายเป็นประจุ (Ion) อย่างไรก็ตามพื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศที่เราอยู่อาศัยมีอุณหภูมิประมาณ 139 – 331 เคลวิน (-89C ถึง 58 C) ที่ระดับพลังงานขนาดนี้ อะตอมจะไม่อยู่อย่างโดดเดี่ยวแต่จะเกาะตัวกันเป็นโมเลกุล การเคลื่อนที่ของโมเลกุลทำให้เกิดรูปแบบของพลังงานจลน์ซึ่งเรียกว่า “ความร้อน” (Heat)
Detailsแมแมน (Maiman) เป็นผู้ที่พิสูจน์ทฤษฎีเลเซอร์ของ C.H. Townes ได้สำเร็จ โดยการประดิษฐ์เลเซอร์ตัวแรกของโลกขึ้น เป็นเลเซอร์ที่ทำทับทิม (Ruby L aser) ซึ่งเป็นของแข็งในปี ค.ศ. 1960
ปรากฏการณ์ดาวตก (Meteorหรือ Shooting star) นั้นไม่ใช่ดาวฤกษ์ (Star) แต่เป็นหินก้อนเล็กๆที่เผาไหม้ในขณะที่พุ่งเข้ามาในชั้นบรรยากาศของโลก
หลงทางในหน้าที่การงาน เจ็บปวดเพราะการเปรียบเทียบ อยากหาพื้นที่ที่เราสบายใจที่สุดแต่มันก็ยากเหลือเกินในโลกของผู้ใหญ่ เมื่อเจอโจทย์ชีวิตที่ยากแบบนี้เราจะรับมือกับมันยังไงดี
ความคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking or Think out of the box) มีงานเขียนและการบรรยายต่างกรรมต่างวาระที่เอ่ยถึงวิธีการคิดนอกกรอบ ซึ่งอาจสรุปแบบกระชับได้โดยย่อได้ดังนี้ 1. กล้าแตกต่าง ไม่กลัวล้มเหลว มองเห็นการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มในอนาคตคือโอกาส ไม่ใช่ปัญหา คิดบวกและสนุกกับการแสวงหาความเป็นไปได้จากความท้าทายใหม่ๆ
Details