ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ของโลก

ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ของโลก ค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก หลายๆคนที่เคยเรียนวิชาฟิสิกส์ คงจะรู้จักค่า g หรือ ค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ซึ่งในตอนที่เรียนนั้น จะมีการใช้งานอยู่ 2 ค่า คือ g = 10 m/s2และ g = 9.81 m/s2คำถามต่อมาก็ คือ แล้วค่า g จริงๆแล้วมีค่าเท่าไร และมีที่มาอย่างไร ในความเป็นจริงแล้ว ค่า g ไม่ใช่ซึ่งค่าคงที่ในทุกๆต่ำแหน่งบนโลก แต่จะมีค่าแปรแปลี่ยนไปตามภูมิประเทศต่างๆ บนโลก

Details

การหาแรงลัพธ์-ฟิสิกส์ออนไลน์

การหาแรงลัพธ์ แรง(Force) คือ อำนาจอย่างหนึ่งที่ทำให้วัตถุหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ได้ หรือกล่าวได้ว่าแรงสามารถทำให้วัตถุเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ แรงเป็นปริมาณเวคเตอร์ (ปริมาณที่ต้องบอกขนาดและทิศทาง)

Details

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 3 ข้อ ฟิสิกส์ออนไลน์

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 3 ข้อ กฎข้อที่ 1 กฎของความเฉื่อย (Inertia) “วัตถุที่หยุดนิ่งจะพยายามหยุดนิ่งอยู่กับที่ ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำ ส่วนวัตถุที่เคลื่อนที่จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่ ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำเช่นกัน” ตัวอย่าง: ขณะที่รถติดสัญญาณไฟแดง ตัวเราหยุดนิ่งอยู่กับที่

Details

เวกเตอร์ (Vector) ทางฟิสิกส์

ปริมาณในทางฟิสิกส์ มี 2 ปริมาณ คือ 1. ปริมาณสเกลาร์ (Scalar) เป็นปริมาณที่บอกขนาดเพียงอย่างเดียว เช่น มวล , อัตราเร็ว ,พลังงาน ฯลฯ 2. ปริมาณเวกเตอร์ (Vector) เป็นปริมาณที่บอกทั้งขนาดและทิศทาง เช่น ความเร็ว , ความเร่ง ,การกระจัด , แรง ฯลฯ

Details

ระบบของกาแล็กซี (Galaxies System)

ระบบของกาแล็กซี (Galaxies System)     กาแล็กซี  กำเนิดขึ้นหลังจากบิกแบง  1,000  ล้านปีเกิดจากกลุ่มแก๊สซึ่งยึดเหนี่ยวด้วยแรงโน้มถ่วงแยกเป็นกลุ่ม ๆ  แต่ละกลุ่มก่อกำเนิดเป็นดาวฤกษ์จำนวนมากซึ่งเป็นสมาชิกของกาแล็กซี กาแล็กซีที่ระบบสุริยะสังกัดอยู่ คือ กาแล็กซีทางช้างเผือก นอกจากนี้ยังมีกาแล็กซีอื่น ๆ ได้แก่ กาแล็กซีเอนโดรเมดา  กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่   และกาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก กาแล็กซี (Galaxy)

Details

ตำแหน่งของโลกในจักรวาล

ดาวเคราะห์โลกตั้งอยู่ในระบบสุริยะ ซึ่งมีดาวฤกษ์มากกว่า 100 พันล้านดวงรวมกันเป็นกาแลคซีทางช้างเผือกของเรา … ในทางกลับกัน เมื่อรวมกับกระจุกกาแลคซีอื่น ๆ และความว่างเปล่า ซึ่งบรรจุสสารและพลังงานที่มีอยู่ทั้งหมด จึงก่อตัวเป็นเอกภพ ที่อยู่จักรวาลของเราคืออะไร?

Details

การเกิดฤดูกาล ตามภูมิศาสตร์

การเกิดฤดูกาล ตามภูมิศาสตร์ ฤดูกาลเกิดขึ้นเนื่องจาก พื้นผิวส่วนต่าง ๆ ของโลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน เพราะโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปพร้อมกับการหมุนรอบตัวเอง ประกอบกับแกนโลกที่เอียง 23.5 องศา รวมไปถึงวงโคจรของโลกเคลื่อนที่ไปในลักษณะที่ไม่ใช่วงกลมสมบูรณ์ ทำให้มีพื้นที่บางส่วนของโลกเอียงเข้าหาดวงอาทิตย์มากขึ้น ในขณะที่บางส่วนได้รับแสงอาทิตย์น้อยกว่าบริเวณอื่น ๆ ดังนั้น ในแต่ละฝั่งและภูมิภาคของโลกจึงเกิดเป็นฤดูกาลต่าง ๆ ตามปริมาณ และระยะเวลา ที่ได้รับแสงอาทิตย์

Details

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภาวะโลกร้อน น้ำทะเลอุ่นขึ้น: ภาวะโลกร้อนส่งผลให้มหาสมุทรดูดซับความร้อนส่วนเกินเกือบ 90% จากอากาศโดยรอบ ทำให้น้ำทะเลอุ่นขึ้น แม้ว่าความร้อนส่วนใหญ่จะถูกดูดซับในพื้นผิว แต่เนื่องจากอัตราการให้ความร้อนเพิ่มขึ้น ความร้อนจึงเข้าถึงน้ำทะเลในระดับลึกได้ นอกจากนี้มหาสมุทรที่อุ่นขึ้นอาจนำไปสู่การเกิดพายุที่รุนแรงขึ้น และการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล ได้ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศของแนวปะการัง การเจริญเติบโตของพืชทะเล และกระทบต่อการอยู่รอดของสัตว์ทะเล

Details

สกุลเงินดิจิทัล คืออะไร 

สกุลเงินดิจิทัล คืออะไร สกุลเงินดิจิทัล คืออะไร สกุลเงินดิจิทัล หรือ คริปโทเคอร์เรนซี เป็นสกุลเงินที่ใช้กันอย่างแพร่กลายบนโลกอินเทอร์เน็ต เกิดขึ้นจากการนำกลไกลทางคณิตศาสตร์ที่กำหนดจำนวนไว้จำกัด ซึ่งต้องให้เครื่องพิวเตอร์มาถอดรหัสเพื่อสกัดเงินออกมาในรูปแบบสกุลเงินดิจิทัล เช่นบิตคอยน์นั่นเอง ซื้อ – ขายผ่านสกุลเงินดิจิทัลที่มีการกำหนดไว้ 7 สกุลเท่านั้น

Details