คณิตศาสตร์เรื่องจำนวนเฉพาะ (Prime Number)

จำนวนเฉพาะ (Prime Number) หมายถึง จำนวนนับที่มีตัวประกอบเพียงสองตัวเท่านั้น คือ 1 และตัวมันเอง จำนวนเฉพาะที่มีค่าน้อยที่สุดคือ 2 เนื่องจาก 2 มีตัวประกอบ 2 ตัว คือ 1 และ 2 ดังนั้น 2 จึงเป็นจำนวนเฉพาะ แต่ 1 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ เนื่องจาก 1 มี ตัวประกอบเพียง 1 ตัว คือ 1 ตัวประกอบเฉพาะ (Prime factor) หมายถึง ตัวประกอบที่เป็นจำนวนเฉพาะของจำนวนนับใด ๆ เช่น ตัวประกอบของ 36 คือ 1, 2, 3, 4, 6, 9, 12, 18 และ 36 แต่ตัวประกอบเฉพาะของ 36…

Details

ความเป็นมาของวิชาตรรกศาสตร์ และการประยุกต์ตรรกศาสตร์ 

ตรรกศาสตร์เป็นการศึกษาเชิงปรัชญาว่าด้วยการให้เหตุผล โดยมักจะเป็นส่วนสำคัญของวิชาปรัชญา คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ รวมถึงภาษาศาสตร์ ตรรกศาสตร์เป็นการตรวจสอบข้อโต้แย้งที่สมเหตุสมผล (valid argument) หรือการให้เหตุผลแบบผิดๆ (fallacies) ตรรกศาสตร์ เป็นการศึกษาที่มีมานานโดยมนุษยชาติที่เจริญแล้ว

คณิตศาสตร์การเงิน

ภายในคณิตศาสตร์การเงิน คุณควรจำไว้ว่ามีสองประเภทที่จัดการกับการดำเนินการอย่างง่ายและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการที่ซับซ้อน เราให้รายละเอียดพวกเขาในรายละเอียดเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ทางการเงินอย่างง่าย พวกเขาคือคนเหล่านั้น วิเคราะห์และศึกษาวิวัฒนาการที่ทุนเดี่ยวสามารถมีได้. ในการทำเช่นนี้ พวกเขาควบคุมเงินทุนในตอนเริ่มต้นและทำการคำนวณเพื่อให้รู้ว่ามันจะเป็นอย่างไรเมื่อสิ้นสุดการดำเนินการนั้น

Details

ตัวประกอบจำนวนเฉพาะ (Prime Number)

จำนวนเฉพาะ (Prime Number) คือ จำนวนเต็มบวกที่มีตัวหารที่เป็นบวกอยู่ 2 ตัว คือ ตัว 1 และตัวมันเอง จำนวนเฉพาะ 1-100 ได้แก่ 2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19, 23, 29, 31, 37, 41, 43, 47, 53, 59, 61, 67, 71, 73, 79, 83, 89, 97

Details

จำนวนนับ -จำนวนจริงคณิตศาสตร์ออนไลน์

จำนวนนับ คือ จำนวนที่นับสิ่งของต่างๆ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ จำนวนคู่ คือ จำนวนที่หารด้วย 2 ลงตัว และ จำนวนคี่ คือ จำนวนที่หารด้วย 2 ไม่ลงตัว เช่น 1, 3, 5,…..

การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง

การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง   การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง

Details

 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสองและมีตัวแปรเดียว

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสองและมีตัวแปรเดียว  ที่แต่ละพจน์มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม            ตัวอย่าง   ของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว 3×2+ 4x + 5 , 2×2– 6x – 1 , x2– 9 , y2+ 3y – 7 , -y2+ 8y พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว คือ พหุนามที่เขียนในรูป  ax2 + bx + c  เมื่อ  a , b , c  เป็นค่าคงตัวที่   a ≠ 0  และ  x  เป็นตัวแปร

Details

การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยการแยกตัวประกอบ

การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยการแยกตัวประกอบ การแก้สมการก าลังสองตัวแปรเดียวโดยการแยกตัวประกอบ คือ การแยกตัวประกอบของสมการ… เพื่อหาคำตอบหรือหาค่าของตัวแปร ในบทความนี้พี่จะพูดถึงสมการกำลังสองตัวแปรเดียว ซึ่งอยู่ในรูป ax² + bx + c = 0 โดยที่ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a ≠ 0

Details

การแก้สมการและอสมการในรูปค่าสัมบูรณ์

การแก้สมการและอสมการในรูปค่าสัมบูรณ์ ช่วงและการแก้อสมการ โดยเฉพาะเรื่องช่วงและการแก้อสมการต้องอ่านให้เข้าใจนะครับเพราะต้องใช้ต่อยอดในการอ่านเรื่องนี้ครับ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

Details