อัตราส่วนตรีโกณมิติ-คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 5.1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ 5.2 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม 5.3 การนำอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา เนื้อหาทั้งหมดตามหลักสูตรของ สสวท.
Detailsอัตราส่วนตรีโกณมิติ 5.1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ 5.2 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม 5.3 การนำอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา เนื้อหาทั้งหมดตามหลักสูตรของ สสวท.
Detailsการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ การใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ เป็นทฤษฎีที่ช่วยในการหาเศษจากการหารของพหุนาม เช่น หากเราต้องการหาเศษจากการหารพหุนาม 2×2−5x+6ด้วย x -33333 – 3 ถ้าเราตั้งหารยาวตรงๆ เพื่อที่จะหาเศษนั้นมันจะยุ่งยากและยาวมาก…เพื่อเลี่ยงความยุ่งยากนี้เราก็มีเครื่องมือๆหนึ่ง….ซึ่งก็คือ ทฤษฎีบทเศษเหลือ เพื่อช่วยในการหาเศษจากการหารพหุนามนั้นเอง
Detailsการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่อง พาราโบลา สมการพาราโบลา สมการของ พาราโบลา คือ สมการที่สามาเขียนให้อยู๋ในรูป y = Ax + Bx + C โดยที่ a ≠ 0 โดยทั่วไปแล้ว เพื่อความสะดวกในการทำโจทย์เราจะพยายามแปลงสมการพาราโบลาให้อยู่ในรูปของ y=(x-h)2+k พาราโบลา คือ กราฟที่เป็นเส้นโค้ง ไม่เป็นเส้นตรง สมการพาราโบลามี 5 แบบ ได้แก่ 1. y=ax2 2. y=ax2+k 3. y=a(x-h)2 4. y=a(x-h)2+k 5. y=ax2+bx+c สมการพาราโบลาจะมีคุณสมบัติอยู่ 6 ข้อ คือ 1. จุดยอดคือ จุด (h,k) 2. ถ้า a > 0 กราฟพาราโบลาจะเปิดด้านบน(พาราโบลาจะหงาย)…
Detailsคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่อง จำนวนและตัวเลข จำนวน(Number)เป็นการเปรียบเทียบให้ทราบว่ามากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากัน (เพราะการเปรียบเทียบของแต่ละบุคคลไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับความรู้สึก) มนุษย์จึงคิดค้นสัญลักษณ์ขึ้นมา เพื่อใช้กำกับจำนวนที่เรียกว่า ตัวเลข ตัวเลข(Numerial) คือสัญลักษณ์ที่ที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมานั้น แต่ละชาติแต่ละภาษาต่างก็คิดขึ้นมาใช้
Detailsคณิตศาสตร์ ม.3 ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม ของเลขคณิตกับเลขาคณิต และตัวอย่างประกอบ ลำดับ (Sequences) หมายถึง จำนวนหรือพจน์ที่เขียนเรียงกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งลำดับทั่วๆ ไปแบ่งเป็น 2 ชนิดคือ
Detailsอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อสมการ (inequality) เป็นประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของจำนวนโดยมีสัญลักษณ์ <, >, ≤, ≥ หรือ ≠ แสดงความสัมพันธ์
Detailsจำนวนตรรกยะและอตรรกยะ สมบัติของจำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็มโดยที่ b ไม่เท่ากับ 0 จำนวนตรรกยะ จำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ
Detailsอัตราส่วนและร้อยละ อัตราส่วน เราคงเคยได้ยินคำว่า เร็วกว่าถึง 3 เท่า หรือมากกว่าเดิม 2 เท่า มาก่อน ซึ่งในบทเรียนเรื่องอัตราส่วนและร้อยละ จะมาอธิบายถึงความหมายของคำดังกล่าวให้เข้าใจได้มากขึ้น รวมถึงการพูดถึงอัตราส่วนแบบที่ยากขึ้นไปอีกด้วย เรื่องนี้สามารถใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง เช่น การคิดดอกเบี้ย เป็นต้น
Detailsคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 อากาศร้อนแต่ผมไม่ร้อนเพราะผมทำงานอยู่ในห้องที่มีแอร์ ก็เลยสบายแต่ผมประหยัดแอร์น่ะคับ ผมเปิดแอร์ยี่่สิบห้าองศาประหยัดไฟคับ วันนี้มีเอกสารประกอบการสอน วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นเกี่ยวกับจำนวนนับ ซึ่งจะเห็นว่าแค่เพียงจำนวนนับจำนวนเดียว มีเรื่องให้ต้องเรียนมากมาย เช่น
Details