คณิตศาสตร์กับนิติวิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์กับนิติวิทยาศาสตร์ วิธีทางนิติวิทยาศาสตร์วิธีหนึ่งที่นำเสนอ คือ การใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ในการหาตำแหน่งที่เหยื่อถูกทำร้ายจากการกระจายตัวของหยดเลือดและนำไปสู่การอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในที่เกิดเหตุได้ เช่น เจ้าหน้าที่นิติวิทยาศาสตร์สามารถใช้รอยเลือดสันนิษฐานเหตุการณ์ในห้องที่เกิดการฆาตกรรมและคาดการณ์ได้ว่าผู้ตายถูกทำร้ายที่ตำแหน่งใดของห้อง มีการขัดขืนหรือไม่ หรือมีการต่อสู้กันเกิดขึ้นในที่เกิดเหตุหรือไม่ หรือเป็นการจัดฉากเพื่ออำพรางคดี โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับตรีโกณมิติที่เรียนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนอื่นพิจารณาหยดเลือดที่มีลักษณะเป็นทรงกลมเคลื่อนที่ไปในอากาศ กระทบกับพื้นผิวไม่ว่าจะเป็นพื้น ผนัง หรือเพดานถ้าหยดเลือดนี้เคลื่อนที่ในแนวตั้งฉากกับพื้นผิว เลือดจะกระจายตัวออกไปทุกทิศทุกทางเท่ากัน และจะได้รอยเลือดที่มีลักษณะเป็นรูปวงกลม แล้วจะเกิดอะไรขึ้น ถ้าหยดเลือดเคลื่อนที่ทำมุมกับพื้นผิวน้อยกว่า 90๐

สมบัติของเลขยกกำลัง (Properties of Exponent)

สมบัติของเลขยกกำลัง (Properties of Exponent)

สมบัติของเลขยกกำลัง (Properties of Exponent) สมบัติเลขยกกำลัง สูตรผลคูณ-ผลหารของเลขยกกำลังฐานเดียวกัน กรณีกำลังซ้อนกันสองชั้นขึ้นไปโดยไม่มีวงเล็บ ให้คำนวณจากบนลงล่าง เหมือนกับสูตรที่สอง

คณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม

คณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม

คณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม พหุนามคืออะไร พหุนาม ในคณิตศาสตร์ หมายถึง นิพจน์ที่สร้างจากตัวแปรอย่างน้อยหนึ่งตัวและสัมประสิทธิ์ โดยใช้การดำเนินการแค่ การบวก การลบ การคูณ และการยกกำลังโดยที่เลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบเท่านั้น ตัวอย่างของพหุนามตัวแปรเดียวที่มี x เป็นตัวแปร เช่น x2 − 4x + 7 ซึ่งเป็นพหุนามกำลังสอง

การวัด

การวัดทางคณิตศาสตร์

การวัด ความเป็นมาของการวัด   ความเป็นมาของการวัด    ในสมัยโบราณบรรพบุรุษของเรายังไม่มีเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการวัดรยะยะทาง เวลา พื้นที่ และปริมาตร การสื่อความหมายเกี่ยวกับการวัดของคนสมัยนั้นอาศัยสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ หรือกิจกรรมที่ทำกันเป็นกิจวัตรเป็นเครื่องมือในการบอกระยะทาง เวลา พื้นที่ และปริมาตร ซึ่งเป็นการสื่อความหมายเกี่ยวกับการวัดที่ได้จากการสังเกตและการคาดคะเนอย่างหยาบๆ ทำให้บางครั้งเกิดปัญหาการสื่อความหมายไม่ตรงกัน เช่นการสื่อความหมายเกี่ยวกับระยะทาง    – บ้านกำนันอยู่ห่างจากบ้านของเราประมาณสองคุ้งน้ำ

การแปลงทางเรขาคณิต 

คณิตศาสตร์เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต    1 การเลื่อนขนาน 2 การสะท้อน 3 การหมุน การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน

คณิตศาสตร์เรื่องเส้นขนาน

คณิตศาสตร์ม.2 เรื่องเส้นขนาน เส้นตรงสองเส้นที่อยู่ระนาบเดียวกัน ขนานกันก็ต่อเมื่อเส้นตรงทั้งสองเส้นนั้นไม่ตัดกัน ระยะห่างระหว่างเส้นขนานจะเท่ากันเสมอ

สมบัติของจำนวนเต็ม -คณิตศาสตร์ออนไลน์

สมบัติของจำนวนเต็ม -คณิตศาสตร์ออนไลน์

สมบัติของจำนวนเต็ม  สมบัติการสลับที่ของจำนวนเต็ม เมื่อให้ a และ b เป็นจำนวนเต็มใดๆ สมบัติการสลับที่การบวก :  a + b = b + a สมบัติการสลับที่การคูณ :   a x b = b x a หมายเหตุในการจดจำ การลบไม่มีคุณสมบัติการสลับที่ แต่น้องๆสามารถเปลี่ยนการลบให้อยู่ในรูปการบวกได้ และมันจะสามารถสลับที่กันได้ตามสมบัติการบวก เช่น     12 – 6   =   12 + (-6) ดังนั้น       12 – 6   =   (-6) + 12…