ความคิดทางคณิตศาสตร์ยุคสมัยอิยิปต์และโรมัน

พัฒนาการความคิดทางคณิตศาสตร์‎เรื่อง‎ความคิดทางคณิตศาสตร์ยุคสมัยอิยิปต์และโรมัน

พัฒนาการความคิดทางคณิตศาสตร์‎ เรื่อง ความคิดทางคณิตศาสตร์ยุคสมัยอิยิปต์และโรมัน ความคิดทางคณิตศาสตร์ของคนในยุคต่อจากบาบิโลน มาเป็นอารยธรรมที่ลุ่มแม่น้ำไนล์ในประเทศอิยิปต์ สิ่งมหัศจรรย์ของโลกที่ยังหลงเหลืออยู่คือปิรามิด ที่แสดงความสามารถของคนในยุคนั้น ชาวอียิปต์รู้จักกับการจารึกและเขียนลงบนแผ่นที่ทำจากต้นกก (papyrus) มีการใช้อักษรรูปภาพแสดงเรื่องราวต่าง ๆ

เทคนิคเรียนคณิตศาสตร์ ให้เก่ง

เทคนิคเรียนคณิตศาสตร์ ให้เก่ง !!!

เทคนิค เรียนคณิตศาสตร์ ให้เก่ง !!! เทคนิคเรียนเลขให้รอด ที่ใครๆ ก็ทำได้ เทคนิคเรียนเลขให้รอด ที่ใครๆ ก็ทำได้ ในขณะที่แต่ละปีมีข่าวเด็กเทพชนะคณิตศาสตร์โอลิมปิกระดับโลก หรือสอบ O-NET เต็มร้อยกันเป็นสิบๆ คน แต่หันกลับมาที่มุมกว้างของประเทศไทย จะเจอน้องๆ ตาดำๆ ทั่วประเทศกำลังเบื่อหน่ายวิชาคณิตศาสตร์ วิชาที่ได้ขึ้นชื่อว่าปวดตับโดยแท้ ทั้งข้อสอบยาก การบ้านเยอะ เรียนก็ไม่รู้เรื่อง แต่ถึงยังไงก็หนีไปไม่ได้ค่ะ วิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาหลักที่ต้องเรียนกันตั้งแต่ประถมยันมัธยม และอาจจะตามไปหลอกหลอนในบางคณะด้วย

มารูจักกับ พุทธศาสนานิกายเซ็น Zen Buddhism เพื่อใช้ในการเรียนรู้

มารูจักกับ พุทธศาสนานิกายเซ็น Zen Buddhism เพื่อใช้ในการเรียนรู้

มารูจักกับ พุทธศาสนานิกายเซ็น Zen Buddhism เพื่อใช้ในการเรียนรู้ ความเป็นมา พุทธศาสนานิกายเซ็นเป็นพุทธศาสนานิกายหนึ่งที่พัฒนาขึ้นในดินแดนจีนช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ 8 โดยการผสมผสานแนวคิดของพุทธศาสนาฝ่ายมหายานจากอินเดียและปรัชญาเต๋าในจีน คำว่า “เซ็น” (Zen) นี้มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสฤตว่า “ธยานะ” (dhyana) และภาษาบาลีว่า “ฌาณ” (jhana) ที่แปลว่า “สมาธิ” เมื่อพุทธศาสนาเผยแพร่สู่ดินแดนจีน ชาวจีนออกเสียงคำนี้ว่า “ฉาน” (Ch’an) ต่อมาจึงพัฒนาเป็นพุทธศาสนานิกายฉาน และดินแดนญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลของแนวคิดนิกายฉานนี้เข้ามา แต่ที่เรียกเป็นพุทธศาสนานิกายเซ็นก็เพราะชาวญี่ปุ่นออกเสียงคำว่า “ฉาน” เป็น “เซ็น” ต่อมาพุทธศาสนานิกายนี้ได้พัฒนาออกไปเป็นหลายสำนัก แต่มีแนวคิดหลักร่วมกัน คือเป็นพุทธศาสนาที่เน้นการปฏิบัติสมาธิ

ลำดับและอนุกรม เรื่องลำดับ (Sequence)

ลำดับและอนุกรม เรื่องลำดับ (Sequence)

ลำดับและอนุกรม เรื่องลำดับ (Sequence) บทนิยาม   ลำดับ คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก ที่เรียงจาก น้อยไปมาก โดยเริ่มตั้งแต่ 1            ลำดับจำกัด  เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมน เป็น เซตของจำนวน เต็มบวก n ตั วแ ร ก คือ มีโดเมน เป็น {1,2,3,4…n}ดังนั้นลำดับจำกัด คือ    f(1), f(2), f(3),……, f(n)  ลำดับอนันต์ เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก คือ มีโดเมนเป็น{1,2,3,4…}ดังนั้น ลำดับอนันต์ คือ f(1), f(2), f(3),……., f(n),….. ดังนั้น สี่พจน์แรกของลำดับนี้ คือ – 2 , 4 , 8 , 1 6 ดังนั้น สี่พจน์แรกของลำดับนี้ คือ 3,5,3,5

สรุปเนื้อหา ความน่าจะเป็น

สรุปเนื้อหาความน่าจะเป็นคืออะไร พร้อมตัวอย่างข้อสอบ

สรุปเนื้อหา ความน่าจะเป็น คืออะไร พร้อมตัวอย่างข้อสอบ สรุปเนื้อหาที่สำคัญ – ทบทวนความรู้พื้นฐาน – การเรียงสับเปลี่ยน – เรียงของเป็นวงกลม – การจัดหมู่ – การจัดหมู่ของซ้ำ – การเรียงสับเปลี่ยนของซ้ำ – ทฤษฎีบททวินาม – สตาร์ แอนด์ บาร์ – ทบทวนความน่าจะเป็น – สมบัติของความน่าจะเป็น

เคล็ดลับคือ ทำข้อสอบเก่าให้มากเข้าไว้ TCAS67 สำหรับเด็ก ม. 6 ได้แน่นอน

ข้อสอบ TCAS67 ถือเป็นข้อสอบที่ยากครับ ถ้าใครคิดว่าอ่านหนังสือแล้วจะไปสอบได้ล่ะก็ ต้องคิดใหม่แล้วครับ แบบนั้นกินไม่ลงครับ คนที่จะทำข้อสอบ TCAS67 ได้คะแนนสูง(กว่าคนอื่น) คือคนที่มีชั่วโมงบินในการทำข้อสอบมากกว่าคนอื่นนั่นเองครับ สมมุติว่ามีเวลา 4 เดือนในการเตรียมตัวสอบTCAS67 พี่อยากให้น้องแบ่งเวลา 1 เดือนแรกในการทบทวนเนื้อหาให้หมด และให้ความสำคัญกับ 3 เดือนที่เหลือในการเน้นทำข้อสอบ PAT ปีเก่าๆให้หมด ทำหลายๆรอบจนกว่าจะเห็นข้อสอบปุ๊บบอกได้ปั๊บเลยว่าข้อนี้ใช้เนื้อหาอะไรบ้าง ต้องคิดอย่างไร สับขาหลอกตรงไหน ฯลฯ เมื่อถึงขั้นนี้แล้ว น้องสามารถทำคะแนน TCAS67 ได้สูงแน่นอน