พหุนาม-การบวกและการลบพหุนาม

พหุนาม-การบวกและการลบพหุนาม

พหุนาม-การบวกและการลบพหุนาม พหุนาม นิพจน์ที่อยู่ในรูปเอกนามหรืออยู่ในรูปการบวกของเอกนามตั้งแต่ 2 เอกนามขึ้นไป เรียกว่า พหุนาม แต่ละเอกนามในพหุนาม เรียกว่า พจน์ กรณีพหุนามมีบางพจน์คล้ายกัน ต้องรวมพจน์คล้ายเข้าด้วยกัน

พหุนาม เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม

พหุนาม เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม

พหุนาม เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม เอกนาม เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยเลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มบวก

พื้นฐานคณิตศาสตร์ จำนวนเต็ม (Number Line)

พื้นฐานคณิตศาสตร์ จำนวนเต็ม (Number Line)

พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.1 เส้นจำนวน (Number Line) ในขณะที่คำจำกัดความสำหรับจำนวนเต็มอาจดูเหมือนไม่จำเป็นสำหรับบางคนมันสามารถทำให้เด็กเข้าใจคุณสมบัติของจำนวนเต็มได้ง่ายขึ้น จำนวนเต็มและจำนวนเต็มไม่เหมือนกัน

เลขยกกำลัง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์

เลขยกกำลัง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์

เลขยกกำลัง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ตัวเลขสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (คิดว่าภาษาอังกฤษคือ Scientific Notation) นั้นคือการเขียนเลขในรูปที่เป็นเลขทศนิยมหรือจำนวนเต็มที่มีแค่หลักหน่วย คูณกับเลขยกกำลังฐาน 10 เวลาจะย้ายจุดทศนิยมไปข้างหลัง (จากซ้ายไปขวา) เลขยกกำลังจะลดลง แต่เวลาย้ายจุดทศนิยมไปข้างหน้า (จากขวาไปซ้าย) เลขยกกำลังจะเพิ่มขึ้น

การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การแปลงสภาพทางเรขาคณิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ การเลื่อนขนาน การหมุน การสะท้อน การเลื่อนขนาน (Translation)  คือ การเลื่อนทุกจุดในรูปหน่่งไปบนระนาบ ตามแนวเส้นตรงในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะทางเท่ากัน เช่น เลื่อนรูปสามเหลี่ยม ABC ไปทางขวา 10 เซนติเมตร ทุกจุดในรูปสามเหลี่ยม ABC ถูกเลื่อนไปอยู่ในรูปสามเหลี่ยม A’B’C’ การหมุน (Rotation) คือ การหมุนทุกจุดในรูปไปบนระนาบรอบจุดหมุนจุดหน่่งในทิศทางเดียวกันด้วยมุมเท่ากันการหมุนรูปใดๆ มีสิ่งที่ต้องรู้ 3 อย่าง คือ จุดหมุน ทิศทางการหมุน และขนาดมุมในการหมุน การสะท้อน (Reflection) คือ การเลื่อนทุกจุดในรูปไปอยู่อีกฝั่งของเส้นสะท้อน (หรือจุดสะท้อน) โดยทุกจุดของรูปที่สะท้อนห่างจากเส้นสะท้อนเป็นระยะทางเท่ากับที่รูปต้นแบบห่างจากเส้นสะท้อน (หลักการเดียวกับกระจกเงา)

การกระจายนิพจน์เชิงเส้น

การกระจายนิพจน์เชิงเส้น

การกระจายนิพจน์เชิงเส้น คุณได้เรียนรู้การแก้ปัญหาในชีวิตจริงโดยใช้ตัวดำเนินการเชิงตัวเลข อย่างไรก็ตามคุณจะนำมาปรับใช้กับสมการเชิงเส้นได้อย่างไร และอะไรคือสมบัติการแจกแจง ในบทเรียนนี้

การบวกเลขทศนิยม

การบวกเลขทศนิยม ถ้าเรามีจำนวนทศนิยม 2 จำนวนหรือมากกว่านั้นที่จะมารวมกัน เราก็บวกไปเหมือนกับจำนวนเต็ม แต่ต้องเขียนให้ตรงกันดังรูป จำไว้เลยว่าจุดทศนิยมนั้นต้องตรงกัน ลองดูตัวอย่างดังต่อไปนี้: ทำการบวก 2.7 และ 9.1 เข้าด้วยกัน

รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตัวอย่างเช่น สมการ x + 12 = 15 คำตอบของสมการนี้ คือ x = 3 เพราะเมื่อนำ x = 3 แทนในสมอการแล้วเป็นจริง   3 + 12 = 15 โดยในการหาคำตอบของสมการนั้น จะใช้วิธีการที่เรียกว่า การแก้สมการ โดยการแก้สมการนั้น คือ การหาคำตอบจากการใช้สมบัติการเท่ากันในการแก้ ซึ่งเราจะได้ศึกษากันในหัวข้อถัดไป