แนวข้อสอบ A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2

แนวข้อสอบ A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2

แนวข้อสอบ A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 คือ ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานที่จะเข้ามาแทนที่การสอบคณิตศาสตร์วิชาสามัญ โดยเริ่มใช้สำหรับการยื่นสมัครเรียนปีการศึกษา 2566 เป็นต้นไป หรือเรียกง่าย ๆ ว่าจะเริ่มใช้สำหรับ Dek66 เป็นต้นไปนั่นเอง ซึ่งการสอบ A-Level นั้นจะเน้นการประยุกต์ความรู้เชิงวิชาการ และแน่นอนว่าจะออกไม่เกินหลักสูตรการเรียน โดย A-Leve l คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 นั้นจะให้เวลาทำข้อสอบ 1.5 ชม. คะแนนเต็ม 100 คะแนน

การแปลงทางคณิตศาสตร์

การแปลงทางคณิตศาสตร์

การแปลงทางคณิตศาสตร์  การแปลงทางเรขาคณิต เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการย้ายวัตถุจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง โดยอาจมีการเปลี่ยนแปลงขนาด รูปร่าง หรือตำแหน่ง ให้ต่างไปจากเดิมหรือไม่ก็ได้ ตัวอย่างของการแปลงที่เราเคยพบเช่น รถยนต์ซึ่งเดิมอยู่บนทางลาดย้ายเข้าไปจอดในช่องจอดรถ การหมุนของเข็มยาวของนาฬิกา จากปลายเข็มยาวชี้ที่ตัวเลข 12 ไปชี้ที่ตัวเลข 6 หรือลูกโป่งที่มีอากาศอัดอยู่เมื่อปล่อยอากาศออกทำให้ลูกโป่งเคลื่อนที่ออกไปและตกลงเมื่ออากาศที่อยู่ในลูกโป่งดันออกมาจนไม่มีแรงดัน สิ่งเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการแปลงทั้งสิ้น  สิ่งสำคัญของการแปลงคือ จุดทุกจุดของวัตถุที่อยู่ที่เดิม (หรือขนาดเดิม) จะต้องมีการส่งไปยังวัตถุที่ตำแหน่งใหม่ (หรือขนาดใหม่) ทุกจุด จุดต่อจุด

การให้เหตุผลทางเรขาคณิต

การให้เหตุผลทางเรขาคณิต

การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ การให้เหตุผลแบ่งออกเป็นสองแบบคือ 1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) นิยาม:   การให้เหตุผลแบบอุปนัย หมายถึง วิธีการสรุปในการค้นคว้าความจริงจากการสังเกตหรือทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆแล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป

การบวก ลบ คูณ หารของเศษส่วน

คณิตศาสตร์ การบวก ลบ คูณ หารของเศษส่วน

การบวก ลบ คูณ หารของเศษส่วน การบวกและการลบเศษส่วนเมื่อตัวส่วนเท่ากัน หากจำนวนส่วนเท่ากันให้นำตัวเศษของจำนวนนั้นๆ มาบวกหรือลบกันได้เลย และให้คงตัวส่วนไว้เหมือนเดิม

สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.1-3

สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.1-3

สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.1-3 คุณสมบัติเลขยกกำลัง 1. an = a x a x a x … x a (n ตัว)[เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก] 2. a-n = 1 an [a 0] 3. a0 = 1 [a 0] 4. am x an = am+n [ฐานเหมือนกันคูณกันนำกำลังบวกกัน] 5. am an = am-n [ฐานเหมือนกัน หารกันนำกำลังลบกัน] 6. (am)n = am x n [กำลังซ้อนกันนำกำลังไปคูณกัน] 7. (a x b)n = an x bn [กำลังซ้อนกันนำกำลังไปคูณกัน] 8. [ ]n = an bn , b 0 [กำลังซ้อนกันนำกำลังไปคูณกัน] 9. (a b)m am bm…

พื้นฐานทางเรขาคณิต เรขาคณิต 2 มิติและ3 มิติ

พื้นฐานทางเรขาคณิต เรขาคณิต 2 มิติและ3 มิติ

พื้นฐานทางเรขาคณิต เรขาคณิต 2 มิติแล 3 มิติ เรขาคณิต 2 มิติและ 3 มิติ เรขาคณิต 2 มิติและ 3 มิติ นั้นแตกต่างกัน เพราะว่ารูปเรขาคณิต 3 มิตินั้นมีความหนา เช่น ทรงสี่เหลี่ยม ปริซึม ทงกลม ทรงกรวย ทรงกระบอก พีระมิด แต่รูปเรขาคณิต 2 มิติ นั้นเป็นเพียงผิวหน้าหนึ่งของรูปทรง เช่น

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส-คณิตศาสตร์ ม.ต้น

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส คณิตศาสตร์นี้ฟรีทันทีจะแก้สมการพีทาโกรัสทฤษฎีบทพีทาโกรัสว่า a²+b²=c² และสามารถใช้ในการค้นหาความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากของรูปสามเหลี่ยมขวา ที่จะคำนวณด้านที่สามตามทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างเช่นป้อนด้านข้างและด้านข้าง B และเครื่องคิดเลขจะคำนวณความยาวของด้าน C

ธรรมชาติทางฟิสิกส์ เรื่องระบบหน่วยระหว่างชาติ

ธรรมชาติทางฟิสิกส์ เรื่องระบบหน่วยระหว่างชาติ การวัดปริมาณต่างๆทางด้านวิทยาศาสตร์นั้นนักวิทยาศาสตร์จะใช้ระบบหน่วยระหว่างชาติ (International System of Units) หรือ เรียกว่า ระบบ SI