สรุปคณิตศาสตร์ม.2 เรื่องสถิติ เรียนอะไรบ้าง
สรุปคณิตศาสตร์ม.2 เรื่องสถิติ เรียนอะไรบ้าง สถิติคือตัวเลขที่ใช้บรรยายเหตุการณ์หรือข้อเท็จจริง มานำเสนอในรูปแบบต่างๆ
สรุปคณิตศาสตร์ม.2 เรื่องสถิติ เรียนอะไรบ้าง สถิติคือตัวเลขที่ใช้บรรยายเหตุการณ์หรือข้อเท็จจริง มานำเสนอในรูปแบบต่างๆ
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น-การแจกแจงความถี่ของข้อมูล หลังจากที่กำหนดตัวแปรที่ต้องการศึกษา และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรที่ต้องการศึกษาแล้ว ข้อมูลที่เก็บได้เรียกว่า ข้อมูลดิบ (Raw Data) เช่น ต้องการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสถิติ ก็จะมีการสร้างแบบทดสอบวิชาสถิติขึ้นมา นาไปสอบกับกลุ่มนักเรียนที่ต้องการวัด แล้วตรวจคะแนน คะแนนที่ได้เรียกว่า ข้อมูลดิบ (Raw Data) หรือคะแนนดิบ ซึ่งข้อมูลดิบนี้ยังไม่มีความหมายอะไร วิธีเบื้องต้นที่จะทำให้ข้อมูลดิบนั้นมีความหมายคือการแจกแจงความถี่ ซึ่งจะสามารถทำให้ข้อมูลนั้นสามารถเอาไปใช้ได้ง่ายขึ้น และสังเกตการเปลี่ยนแปลงต่างๆได้ง่ายขึ้นด้วย
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น >การสร้างตารางแจกแจงความถี่ กรณีที่ 1 เมื่อโจทย์กำหนดข้อมูลมาให้ มีขั้นตอนในการสร้างดังนี้ 1. พิจารณาจำนวนอันตรภาคชั้นตามที่ต้องการ ซึ่งโดยทั่วๆไปจะนิยมสร้างตั้งแต่ 7 ถึง 15 อันตรภาค ชั้น หรือไม่ควรต่ำกว่า 5 อันตรภาคชั้น และไม่นิยมให้บางอันตรภาคชั้นมีความถี่เป็น 0
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 สถิติ แผนภาพจุด และ แผนภาพต้นใบ การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ กราฟที่ใช้แสดงการแจกแจงความถี่ มีดังนี้
วิธีจัดหมู่ ( COMBINATION ) วิธีจัดหมู่ คือ วิธีการจัดสิ่งของที่แตกต่างกันออกเป็นกลุ่ม หรือ หมู่โดย ไม่คำนึงถึงอันดับ เช่น การจัดหมู่ตัวอักษร A , B และ C ออกเป็นหมู่ละ 2 ตัวอักษร
ทฤษฎีบททวินาม ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงสูตรของการกระจาย ( x + y )2 เมื่อ x, y เป็นจำนวนจริงใดๆ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก พิจารณาการกระจายต่อไปนี้
ความน่าจะเป็นและกฏที่สำคัญบางประการของความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น การทดลองสุ่ม ( Random experiment) คือการทดลองที่ไม่สามารถทำนายผลลัพธ์ได้อย่างถูกต้อง
Permutation (เรียงสับเปลี่ยน) หมายถึง การนำสิ่งของที่มีลักษณะที่แตกต่างกันทั้งหมดมาจัดเรียงสับเปลี่ยน โดยถือตำแหน่งหรือลำดับก่อนหลังเป็นสำคัญ แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ
ความน่าจะเป็น โอกาสของเหตุการณ์ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์คือจำนวนที่แสดงให้ทราบว่าเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นมาก หรือน้อยเพียงใด ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใด ๆ เท่ากับอัตราส่วนของจำนวนเหตุการณ์ที่เราสนใจ (จะให้เกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นก็ได้) ต่อจำนวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ซึ่งมีสูตรในการคิดคำนวณดังนี้
มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม วงกลม บทนิยามของวงกลม วงกลม คือ เซตของจุดทุกจุดบนระนาบซึ่งอยู่ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่งบนระนาบเดียวกันเป็นระยะทางเท่าๆกัน