เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.3 อัพเดท

เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.3 วิชาคณิตศาสตร์ ม.3 หลักสูตรใหม่ ตามหลักสูตรของ สสวท. ครับ เนื้อหาแบ่งเป็น คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ไม่มีคณิตศาสตร์เพิ่มเติม แต่บางโรงเรียนก็อาจจะเสริมบางเรื่องนอกเหนือจากที่หลักสูตรกำหนดไว้ครับ รายละเอียดของเนื้อหา คณิตศาสตร์ ม.3 

Details

พันธะเคมี (Chemical Bonding)-เคมีม.ปลาย

 พันธะเคมี (Chemical Bonding) พันธะเคมี คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นจากการดึงดูดเข้าหากันระหว่างอนุภาคมูลฐานหรืออะตอม (Atom) ทั้งนี้ ก็เพื่อสร้างเสถียรภาพในระดับโมเลกุล จนเกิดเป็นสสารหรือสารประกอบที่มีโครงสร้างขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมากขึ้นในธรรมชาติ . พันธะไอออนิก (Ionic Bond) 

Details

ภาคตัดกรวย (Conic Section) เรื่องวงกลม และ วงรี

ภาคตัดกรวย (Conic Section)-เรื่องวงกลม ความชันของเส้นตรง (Slope : m) คือ อัตราส่วนระหว่างค่า y ที่เปลี่ยนแปลงไป ต่อค่า x ที่เปลี่ยนแปลงไป ใช้ สัญลักษณ์ m โดยค่า m อาจะเป็นบวก หรือลบ หรือเป็นศูนย์ก็ได้

Details

เวกเตอร์ (vector)-คณิตศาสตร์ออนไลน์

เวกเตอร์ (Vector) ในกรณีที่ง่ายที่สุดคือวัตถุทางคณิตศาสตร์ที่มีขนาดและทิศทาง ตัวอย่างเช่นในรูปทรงเรขาคณิตและในวิทยาศาสตร์ธรรมชาติเวกเตอร์เป็นส่วนกำกับของเส้นตรงในปริภูมิแบบยุคลิด (หรือบนระนาบ)

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 (Mathematical Logic ) ในเรื่องตรรกศาสตร์นี้ เราจะสนใจหาว่า ประโยคต่างๆ เป็นจริง หรือ เท็จแต่ก่อนอื่น ต้องรู้ว่า ไม่ใช่ทุกประโยค ที่จะเอามาหาความจริงได้

Details

ฟิสิกส์ ม.ปลายเรื่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ (โพรเจกไทล์)

การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ (โพรเจกไทล์) การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์  การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ประกอบด้วยการเคลื่อนที่ 2 แนวตั้งฉากกัน และเกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน เช่น การขี่จักรยานผาดโผน เป็นเส้นทางโค้งจากเนินด้านหนึ่งไปยังเนินอีกด้านหนึ่ง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูกขว้างขึ้นไปในอากาศในแนวที่ทำมุม θ ใด ๆ  กับแนวราบด้วยอัตราเร็ว u เราสามารถวิเคราะห์ความเร็วการเคลื่อนที่ของวัตถุออกมาได้ดังภาพ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

Details

อัปเดต คณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4/ ม.5/ ม.6) มีเรียนอะไรบ้าง ?

อัปเดต คณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4/ ม.5/ ม.6) มีเรียนอะไรบ้าง ? คณิตศาสตร์ ม.4 เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 1 มี ดังนี้ บทที่ 1 เซต ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ การดำเนินการระหว่างเซต คุณสมบัติของการดำเนินการระหว่างเซต การแก้ปัญหาโดยใช้เซต บทที่ 2 ตรรกศาสตร์ ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ การหาค่าความจริงของประพจน์ การสมมูลและนิเสธของประพจน์ สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล ตัวบ่งปริมาณและประโยคเปิด บทที่ 3 จำนวนจริง ระบบจำนวนจริง และสมบัติของระบบจำนวนจริง พหุนามตัวแปรเดียว การแยกตัวประกอบของพหุนาม สมการพหุนาม อสมการพหุนาม ค่าสัมบูรณ์ เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 2 มีดังนี้ บทที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน การใช้ฟังก์ชันในชีวิตจริง กราฟของฟังก์ชัน…

Details