ฟู้ดเดลิเวอรี่ (Food Delivery) ตัวช่วยร้านค้าในช่วงโควิด

ฟู้ดเดลิเวอรี่ (Food Delivery) หลายคนอาจยังคงสงสัยว่าบริการเดลิเวอรี่ (Delivery) คืออะไร อาจจะบอกได้ว่าเดลิเวอรี่ก็คือ “บริการจัดส่งถึงที่” นั่นเอง ปัจจุบันธุรกิจเดลิเวอรี่เติบโตเร็วมาก

Details

Audi e-tron GT 2021 ขุมพลังไฟฟ้าล้วน 100%

 Audi Thailand โดย Meister Technik ประกาศเตรียมเปิดตัวรถยนต์ไฟฟ้า Audi e-tron GT 2021 ใหม่ ครั้งแรกในประเทศไทย เสริมทัพเอสยูวีไฟฟ้า Audi e-tron 55 ที่วางจำหน่ายในปัจจุบัน โดยเป็นการเปิดตัวตามหลังตลาดบ้านเกิดที่ยุโรปเพียงเดือนเศษเท่านั้น แต่ยังไม่คอนเฟิร์มว่าอาวดี้ประเทศไทยจะนำตัวแรงอย่าง Audi RS e-tron GT ขุมพลัง 598 แรงม้า

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ( Trigonometric function )-คณิตศาสตร์ ปลาย

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (อังกฤษ: Trigonometric function) คือ ฟังก์ชันของมุม ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษารูปสามเหลี่ยมและปรากฏการณ์ในลักษณะเป็นคาบ ฟังก์ชันอาจนิยามด้วยอัตราส่วนของด้าน 2 ด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรืออัตราส่วนของพิกัดของจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย หรือนิยามในรูปทั่วไปเช่น อนุกรมอนันต์ หรือสมการเชิงอนุพันธ์ รูปสามเหลี่ยมที่นำมาใช้จะอยู่ในระนาบแบบยุคลิด ดังนั้น ผลรวมของมุมทุกมุมจึงเท่ากับ 180° เสมอ

ความเป็นมาของเรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry)

เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry)  เป็นสาขาหนึ่งของวิชาคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่สำคัญวิชาหนึ่งของ คณิตศาสตร์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการนำความรู้ทางพีชคณิตมาช่วยในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับ เรขาคณิต ดังนั้นวิชา

มาแลัวเฉลยคณิตศาสตร์ วิชาสามัญ  ปี 64 ที่เพิ่งสอบกันล่าสุด

มาแล้วจ้า ! ! ! #เฉลย #คณิตสามัญ ล่าสุด ปี 64 ที่เพิ่งสอบกันล่าสุด น้องๆ #dek65 ที่หลายๆคนบอกว่ายากขึ้นจริงไหม? พร้อมให้น้องพิสูจน์ได้แล้ว

Details

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 (Mathematical Logic )

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 2.1     ประพจน์ 2.2     การเชื่อมประพจน์ 2.3     การหาค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์ 2.4     การสร้างตารางค่าความจริง 2.5     รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน 2.6     สัจนิรันดร์

Details

สารละลายอิเล็กโทรไลต์ -เคมี

สารละลายอิเล็กโทรไลต์         อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) หมายถึง สารที่ี่เมื่อละลายในน้ำจะนำไฟฟ้าได้ เนื่ื่องจากมีไอออนซึ่งอาจจะเป็นไอออนบวก หรือไอออนลบเคลื่อนที่ี่อยู่ในสารละลาย สารละลายอิเล็กโทรไลต์นี้ี้อาจเป็นสารละลายกรด เบส หรือเกลือก็ได้ ตัวอย่างเช่น สารละลายกรดเกลือ (HCl) สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และสารละลายของเกลือ KNO3 เป็นต้น โดยในสารละลายดังกล่าวประกอบด้วยไอออน H+ , Cl– , OH– , K+ และ NO3 – ตามลำดับ

Details

สารละลายบัฟเฟอร์ (Buffer Solution)-เคมี

 สารละลายบัฟเฟอร์ (buffer solution) หมายถึงสารละลายของกรดอ่อนกับเกลือของกรดอ่อน หรือคู่เบสของกรดอ่อน หรือหมายถึงสารละลายของเบสอ่อนกับเกลือของเบสอ่อน หรือคู่กรดของเบสอ่อนนั้น สมบัติของสารละลายบัฟเฟอร์ คือ รักษาสภาพ pH ของสารละลายเอาไว้โดยจะเกิดการ

ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส-เคมี

ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส    1.ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส         จากทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตตและลาวรี กรดคือสารที่ให้โปรตอน และเบสคือ สารที่รับโปรตอน เมื่อกรดทำปฏิกิริยากับเบส จึงมีการถ่ายโอนโปรตอนระหว่างกรดและเบสนั่นเอง ตัวอย่างเช่น ปฏิกิริยาระหว่าง HCl และ NaOH สามารถเขียนปฏิกิริยาได้ดังนี้

Details