สาเหตุของภาวะโลกร้อน (Global warming)

สาเหตุของภาวะโลกร้อน (Global warming)

สาเหตุของภาวะโลกร้อน (Global warming)  “ภาวะโลกร้อน” (Global Warming) หลายคนยังฟังเพียงผ่านๆ เพราะคิดว่าเป็นเรื่องไกลตัว …แต่ยิ่งนานวันผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศจากสภาวะโลกร้อนก็ยิ่งพ่นพิษรุนแรงและลุกลามเพิ่มขึ้นที่เห็นได้ชัดคือภัยจากธรรมชาตินานัปการ และโรคภัยไข้เจ็บที่ลุกลาม เป็นต้น

รู้ไหม? อะไรทำให้ iPhone สร้างยอดขายทะลุ 2,000 ล้านเครื่องทั่วโลก

รู้ไหม? อะไรทำให้ iPhone สร้างยอดขายทะลุ 2,000 ล้านเครื่องทั่วโลก

รู้ไหม? อะไรทำให้ iPhone สร้างยอดขายทะลุ 2,000 ล้านเครื่องทั่วโลก ย้อนรอยเส้นทางการเติบโตของ “ไอโฟน” ผลิตภัณฑ์ที่เปลี่ยนโฉมอุตสาหกรรมสมาร์ทโฟนและชีวิตผู้คนทั่วโลก 29 มิ.ย. 2007 คือวันแรกที่ “ไอโฟน (iPhone)” เครื่องแรกออกวางจำหน่ายในโลก ขณะนั้นชนชาวโลกต่างมองไปยังแอปเปิลด้วยสายตาหลากหลาย ทั้งสายตาที่มองมาด้วยความสนใจ สายตาที่คาดหวัง สายตาที่กังขา และสายตาที่ไม่เชื่อถือ

จำนวนจริง (Real number)

จำนวนจริง (Real number)

จำนวนจริง (Real number) จำนวนจริง(Real Number) 1. จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น √2 , √3, √5, -√2, – √3, -√5 หรือ ¶ ซึ่งมีค่า 3.14159265… 2. จำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น     เขียนแทนด้วย 0.5000…     เขียนแทนด้วย 0.2000…             • ระบบจำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะยังสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนหรือทศนิยมซ้ำได้ แต่ไม่เป็นจำนวนเต็ม ตัวอย่างเช่น 2. จำนวนเต็ม…

พื้นฐานเซต (Set) ม.4

พื้นฐานเซต (Set) ม.4

เซต คืออะไร เซต คือ กลุ่มของสมาชิก (element) ของสิ่งที่สนใจ เช่น เซตของวันในหนึ่งสัปดาห์ หมายถึง กลุ่มของวันจันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ เป็นต้น ซึ่งคำว่าเซตนั้นมีคุณสมบัติที่สำคัญคือ ต้องสามารถระบุได้ว่า อะไรอยู่ในเซต อะไรไม่อยู่ในเซต โดยเราสามารถเขียนเซตได้

 พื้นฐานจำนวนจริง ( Real  Numbers )

 พื้นฐานจำนวนจริง ( Real  Numbers )

จำนวนจริง ( Real  Numbers ) ประกอบด้วย จำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ                       1) จำนวนตรรกยะ (Rational  Numbers) คือจำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนได้เมื่อเศษและส่วนเป็นจำนวนเต็มและ                              “ส่วนมีค่าไม่เท่ากับ 0 ”