ลำดับเรขาคณิต (Geometric Sequences)

ลำดับเรขาคณิต (Geometric Sequences) นิยาม ลำดับเรขาคณิต (Geometric Sequences) คือ ลำดับที่มีอัตราส่วนระหว่างสองพจน์ใด ๆ ที่อยู่ติดกันมีค่าเท่ากัน ตลอด หรือ ลำดับที่เปลี่ยนแปลงไปทีละเท่าตัว (จะกี่เท่าก็ได้ครับ) นิยาม     ลำดับเรขาคณิต  คือ  ลำดับที่มีอัตราส่วนร่วม [Common ratio ตัวย่อ r] ระหว่างพจน์ที่ n+1 [an+1] กับพจน์ที่ n [an] มีค่าคงที่                 สำหรับทุกๆ จำนวนเต็มบวก n อัตราส่วนร่วม (Common Ratio) คือ อัตราส่วนที่เกิดจากพจน์หลังหารด้วยพจน์หน้าที่อยู่ติดกัน

สรุปเนื้อหาย่อลำดับและอนุกรม

สรุปเนื้อหาย่อลำดับและอนุกรม ม.ปลาย

สรุปเนื้อหาย่อลำดับและอนุกรม ม.ปลาย อนุกรม คือ อะไร ลำดับ คือ อะไรบ้าง  ลําดับและอนุกรม มีอะไรบ้าง ลำดับจำกัด ลำดับอนันต์ ลำดับเลขคณิต ลำดับเรขาคณิต ลำดับพหุนาม ลำดับหลายชั้น ลำดับเว้นระยะ ลำดับแบบมีค่าแตกต่างกันเป็นชุด ลำดับยกกำลัง ความสัมพันธ์เวียนเกิด ลําดับและอนุกรม สูตร ทั้งหมดที่ควรรู้ ลำดับและอนุกรม ความหมายของลำดับในการเขียนลำดับ จะเขียนเฉพาะสมาชิกของเรนจ์เรียงกันไป กล่าวคือ ถ้า a เป็น ลำดับจำกัด จะเขียนแทนด้วย a1, a2, a3, …, an และถ้า a เป็น ลำดับอนันต์ จะเขียนแทนด้วย a1, a2, a3, …, an, … เรียก a1 ว่า พจน์ที่ 1 ของลำดับ เรียก a2 ว่า พจน์ที่…

วางแผนติว TCAS66 และ ฝึกคิด ฟิตสมอง

วางแผนติว TCAS66 และ ฝึกคิด ฟิตสมอง

วางแผนติว TCAS66 และ ฝึกคิด ฟิตสมอง เทคนิคเพียบ มาพร้อมกับทริกการทำโจทย์  นำไปสอบได้ทันที  พร้อมเพื่อความพร้อมทุกสนามสอบ ทั้ง TGAT/TPAT , A-Level (วิชาสามัญ) , กสพท , O-NET

A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1(วิชาสามัญ) ข้อสอบวัดความรู้ด้านคณิตศาสตร์ เตรียมตัวสำหรับ TCAS66

A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1(วิชาสามัญ) ข้อสอบวัดความรู้ด้านคณิตศาสตร์ เตรียมตัวสำหรับ TCAS66 #ข้อสอบ #คณิตศาสตร์ #วิชาสามัญ (ว่าที่ #alevel ) ที่น้องๆ #dek65 เพิ่งสอบกันไป แนวเป็นอย่างไรบ้าง พี่อุ๋ยคัดข้อที่น่าสนใจมาเฉลยให้ดูอย่างละเอียดกันเช่นเคย น้องๆ #dek66 ไม่ควรพลาด ต้องดู ก่อนไปสอบ A-Level ที่จะถึงนี้กันเลย ^^

เตรียมตัวทำข้อสอบ A-Level #DEK66 ที่จะไปเปลี่ยนไป

เตรียมตัวทำข้อสอบ A-Level #DEK66  ที่จะไปเปลี่ยนไป ลักษณะการสอบ คณิตประยุกต์   PAT1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ (เต็ม 300 คะแนน) และ คณิต 1 วิชาสามัญ (เต็ม 100 คะแนน) ได้จะถูกเปลี่ยนเป็น คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (พื้นฐาน+เพิ่มเติม) (มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน)

Mathematical Logic

ตรรกศาสตร์ (Mathematical Logic ) ในชีวิตประจำวัน

ตรรกศาสตร์ (Mathematical Logic ) ประพจน์ที่สมมูลกัน ประพจน์ 2 ประพจน์จะสมมูลกัน ก็ต่อเมื่อ ประพจน์ทั้งสองมีค่าความจริงเหมือนกัน ทุกกรณีของค่าความจริงของประพจน์ย่อย

กริยาช่อง 2 ของ Past Simple Tense

กริยาช่อง 2 ของ Past Simple Tense ที่ใช้บ่อย (verb 2) พร้อมคำอ่าน คำแปล

หลักการใช้และโครงสร้างของ Past Simple Tense กริยาช่อง 2 เป็นองค์ประกอบสำคัญ เราจึงต้องท่องคำกริยาที่อยู่ในช่อง 2 ให้ดีว่า เติม –ed หรือ -d หรือไม่ อย่างไร  ดูตัวอย่างกริยาช่อง 2

หลักการใช้ Past Simple Tense การกล่าวถึงอดีต

หลักการใช้ Past Simple Tense การกล่าวถึงอดีต

หลักการใช้ Past Simple Tense การกล่าวถึงอดีต ข้อยกเว้นในการเติม -ed หลักการเปลี่ยนคำกริยาใน Past Simple Tense was / were กริยาบอกการกระทำ คำบอกเวลาใน Past Simple Tense บทสรุปท้ายบท Past Simple Tense

ความสมดุลของการใช้ชีวิต ที่เราสามารถสร้างได้

การสร้างสมดุลให้กับชีวิตและการทำงานนั้นไม่เพียงแค่มีประโยชน์ต่อองค์กรเท่านั้น แต่ยังมีประโยชน์ต่อตัวบุคลากรเองด้วย ทั้งในด้านสุขภาพกายและสุขภาพใจ ซึ่งเมื่อพนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดีก็ย่อมส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพได้มากขึ้นเช่นกัน และผลดีก็จะเกิดขึ้นกับองค์กรในที่สุด เราลองมาดูเคล็ดลับในการสร้างสมดุลให้กับชีวิตและการทำงานทั้งในมุมของพนักงาน และมุมขององค์กร ที่จะร่วมสร้างแนวคิด Work Life Balance ที่ดีให้เกิดขึ้นกับองค์กรได้อย่างไร