ตรรกศาสตร์ การทดสอบว่าประพจน์ 2 ประพจน์ สมมูลกัน-คลังความรู้ ม.ปลาย
ตรรกศาสตร์ การทดสอบว่าประพจน์ 2 ประพจน์ สมมูลกัน ทำได้ 2 วิธี คือ สร้างตารางแจกแจงค่าความจริง ค่าความจริงต้องตรงกันทุกกรณี
Detailsตรรกศาสตร์ การทดสอบว่าประพจน์ 2 ประพจน์ สมมูลกัน ทำได้ 2 วิธี คือ สร้างตารางแจกแจงค่าความจริง ค่าความจริงต้องตรงกันทุกกรณี
Detailsประธาน กริยา กรรม กฎการใช้ประธาน (Subjects) และ กริยา (Verbs) ร่วมกันในประโยค ความหมายของประธาน กริยา กรรม ขออธิบายสั้นๆ ดังนี้
Detailsกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 , 2 และ3 แรง (Force) จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรง พบว่า วัตถุอาจมีการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว หรือมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว ซึ่งอะไรคือสาเหตุที่ทำให้วัตถุมีการเคลื่อนที่เป็นแบบดังกล่าว โดยปริมาณที่เกี่ยวข้องกับลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรง ได้แก่ ระยะทาง, การกระจัด, อัตราเร็ว, ความเร็ว, ความเร่ง และช่วงเวลา หากเดิมมีวัตถุหยุดนิ่งอยู่กับที่แล้วต้องการให้วัตถุเคลื่อนที่ หรือถ้ากำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแล้วต้องการให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็ว พบว่า จะต้องมีแรงมากระทำกับวัตถุ แสดงว่า แรงที่กระทำต่อวัตถุ จะทำให้วัตถุมีความเร็วเปลี่ยนไป
Detailsวงรี (Ellipse) คณิตศาสตร์ ม.4 วงรี (Ellipse) วงรี จะประกอบไปด้วย 1) แกนเอกคือแกนที่ยาวที่สุด และแกนโทคือแกนที่สั้นกว่า
Detailsแรงเสียดทาน (Frictional force) คนทั่วไปรู้จักแรงเสียดทานดี โดยเฉพาะบุคคลผู้ที่เรียนอยู่ในสายวิทยาศาสตร์และสายเทคโนโลยีด้านอุตสาหกรรม แรงเสียดทานเป็นแรงที่ต่อต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ เกิดระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุกับ พื้น แต่คนส่วนใหญ่ไม่รู้ว่าแรงเสียดทานเกิดขึ้นได้อย่างไร และสิ่งใดบ้างที่เป็นผลหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อ ขนาดของแรงเสียดทาน “แรงเสียดทานเป็นแรงองค์ประกอบย่อยของแรงปฏิกิริยาลัพธ์ในแนวขนานกับพื้น” เราพิจารณา แรงเสียดทานได้ดังนี้ เมื่อว่างวัตถุบนพื้นวัตถุจะถูกโลกออกแรงดึงดูดกดลงบนพื้น (W) พื้นจะสร้างแรง ปฏิกิริยาโต้กลับ ด้วยขนาด (N)
Detailsกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มวล และน้ำหนัก 2.1 มวล (Mass) จากความรู้เรื่องแรง พบว่าแรงสามารถทำให้วัตถุเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ได้ แต่ในการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ นอกจากจะขึ้นอยู่กับแรงแล้วยังพบว่ามีปริมาณอื่นที่มีความเกี่ยวข้องด้วย ดังตัวอย่างเหตุการณ์ต่อไปนี้ ถ้านำขวดพลาสติกขนาดเท่ากับ 3 ใบ แล้วใช้กระดาษหุ้มให้มิดชิด ใบแรกภายในวางเปล่า ใบที่สองเติมน้ำลงไปครึ่งขวด และใบที่สามเติมน้ำจนเต็มขวด แล้วแขวนไว้ในแนวดิ่งและลองขยับขวดไปมาในแนวระดับ ดังภาพที่ 12 อาจสรุปได้ว่า มวล คือ ปริมาณที่บอกให้ทราบถึงการต้านการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งเป็นปริมาณสเกลาร์ ใช้สัญลักษณ์ คือ “ m ”มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kg ) 2.2 น้ำหนัก (Weight) จากการศึกษาการตกอย่างเสรีของวัตถุใกล้ผิวโลก พบว่า เมื่อมีแรงมากระทำกับวัตถุ จะทำให้วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว ซึ่งแรงที่มากระทำกับวัตถุนั้นคือ แรงดึงดูดของโลก ที่กระทำต่อวัตถุ อาจเรียกแรงนี้ว่า น้ำหนักของวัตถุ โดยที่ 2.3.1 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน จากการศึกษาเกี่ยวกับแรงและสภาพการเคลื่อนที่ พบว่า…
Detailsระบบพิกัดในแผนที่ เนื่องจากโลกเป็นทรงกลมเมื่อมีการกำหนดตำแหน่งต่างๆ บนโลก จึงต้องถ่ายทอดตำแหน่งจากพื้นที่จริงลงมาสู่แผนที่ด้วยระบบพิกัด โดยระบบพิกัดแผนที่ คือ การอ้างอิงตำแหน่งของโลกที่ถ่ายทอดลงมาสู่แผนที่ซึ่งมีลักษณะแบนราบ โดยกำหนดให้มีจุดกำเนิดของพิกัดอยู่บนผิวโลก และมีลักษณะเป็นระบบพิกัดฉาก อันเกิดจากการตัดกันของแกนสมมติ ตั้งแต่ 2 แกนขึ้นไป ระบบพิกัดแผนที่มีอยู่ด้วยกันสองชนิด คือ ระบบพิกัด 2 มิติ และระบบพิกัด 3 มิติ ซึ่งพิกัดเหล่านี้ได้อ้างอิงกับตำแหน่งบนโลกด้วยระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์
Detailsสมดุลของแรง (Balanced Force) สมดุลย์คืออะไร ในทางบัญชีและการเงิน คำว่า “สมดุลย์” (Balance) เป็นคำที่ใช้แสดงถึงสถานะที่ชี้ให้เห็นถึงความสมดุลของบัญชีหรือการเงิน ซึ่งอาจเป็นทั้งบัญชีบุคคล บัญชีธุรกิจ หรือแม้กระทั่งการเงินของรัฐบาล ความสมดุลของบัญชีหมายถึงความเท่าเทียมระหว่างส่วนรายรับและรายจ่าย หรือส่วนฐานะของสินทรัพย์และหนี้สิน
Detailsมาดูว่า Present simple กับ Present continuous ว่าใช้งานต่างกันอย่างไร 1.ภาษาอังกฤษเรื่อง Simple present Present แปลว่า ปัจจุบัน ดังนั้น Present Simple Tense จึงเป็นประโยคที่มีโครงสร้างแบบง่าย ๆ เพื่อใช้พูดถึงเหตุการณ์ในปัจจุบันนั่นเอง โดยมีลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ หลักการเติม “s” หรือ “es” การเติม “s” หรือ “es” เป็นส่วนสำคัญของ Present Simple Tense ในภาษาอังกฤษ ใช้เพื่อระบุบุคคลที่ 3 [He, She, It พร้อมทั้งคำนามหรือกริยาช่วย] ซึ่งถือเป็นกฎแกรมม่าพื้นฐานที่ควรจะรู้ในการใช้ Present Simple Tense อย่างถูกต้อง – กริยา [Verb] ปกติ [Regular verbs]: เมื่อใช้ Present Simple…
Details