มารู้จักกับคณิตศาสตร์ประยุกต์คืออะไร

คณะวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยสาขาวิชาต่าง ๆ มากมายที่เน้นหลักสูตรทางด้านวิทยาศาสตร์ อีกทั้งยังมีสาขาหนึ่งที่สำคัญอย่างสาขาคณิตศาสตร์ก็ได้รับการบรรจุเป็นหลักสูตรหนึ่งในคณะวิทยาศาสตร์ด้วย อาจเป็นเพราะว่าคณิตศาสตร์นับเป็นเครื่องมือหนึ่งของวิทยาศาสตร์ ในการวิจัยและการประยุกต์ใช้ซึ่งทำให้เกิดความรู้ใหม่ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ปัจจุบัน นอกจากมีสาขาคณิตศาสตร์แล้ว ในบางมหาวิทยาลัยยังสาขาคณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่แตกต่างออกไป นั่นก็คือ สาขาคณิตศาสตร์ประยุกต์  (applied mathematics)

ทำไมฝักถั่วลิสงถึงไปอยู่ใต้ดิน-ชีววิทยา

ฝักถั่วลิสง ทำไมไป เกิดอยู่ใต้ดิน  ในขณะที่ถั่วอย่างอื่นเช่น ถั่วเขียว  ถั่วเหลือง  ถั่วแระ  ถั่วพู เกิดอยู่ตามกิ่ง  ก้าน  ผมจะชี้แจงเรื่องนี้ให้ทราบครับ

ใบไม้เปลี่ยนสี

ทำไมใบไม้เปลี่ยนสี มารู้จักกับใบไม้เปลี่ยนสี

 เมื่อลมหนาวมาเยือน หลายๆ คน คงสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติรอบๆ ตัว โดยเฉพาะ ต้นไม้ที่เจริญในเขตอบอุ่น ส่วนที่จะเห็นการเปลี่ยนแปลงได้อย่างชัดเจนคือ ส่วนของใบ โดยใบไม้ที่มี สีเขียว จะมีการเปลี่ยนสีที่แตกต่างกันไป บ้างก็จะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน สีส้ม สีแดง และสีน้ำตาล เมื่อเวลา ผ่านไปสักระยะหนึ่งใบไม้ที่มีการเปลี่ยนสีต่าง ๆ เหล่านี้ก็จะกลายเป็นเป็นใบไม้แห้งร่วงหล่นจากต้นลงสู่พื้นดิน กลายเป็นปุ๋ยธรรมชาติที่มีประโยชน์ต่อระบบนิเวศต่อไป

มารู้จักกับ นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology) ฟิสิกส์

นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology) นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology) หมายถึงวิทยาการในการประกอบและผลิตสิ่งต่างๆ ขึ้นมาจากการจัดเรียงอะตอม  หรือโมเลกุลเข้าด้วยกันในระดับนาโนเมตรหรือขนาด 1  ในพันล้านส่วนของ 1 เมตร โดยเป็นการผสมผสานของวิทยาศาสตร์หลายแขนง เช่น  ชีววิทยา ชีวเคมี วิศวกรรมศาสตร์สาขาหุ่นยนต์ และเครื่องจักรกล

ช่วงและการแก้สมการ-คณิตศาสตร์พื้นฐาน

ช่วง ถ้าเราลากเส้นตรงเส้นหนึ่งแล้วเลือกจุดใดจุดหนี่งบนเส้นตรงนั้นเป็นเป็นจุดแทนจำนวนศูนย์ (0) หลังจากนั้นเลือกหน่วยความยาว แล้วระบุจุดบนเส้นตรงนี้ที่ระยะห่าง 1, 2, 3, … หน่วยทางขวามือของศูนย์เป็นจำนวน 1, 2, 3, … ตามลำดับ และในทำนองดียวกัน ระบุจุดบนเส้นตรงนี้ที่ระยะห่าง 1, 2, 3, … หน่วยทางซ้ายมือของศูนย์เป็นจำนวน -1, -2, -3, … ตามลำดับ

ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

นการสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล [1] ส่วนมากนิยมใช้ x แทนตัวแปรอิสระ y แทนตัวแปรตาม และข้อมูลที่นำมาสร้างความสัมพันธ์จะต้องประกอบด้วยค่าจากการสังเกตเป็นจำนวนมากพอควร ซึ่งควรจะมีตั้งแต่ 8 ค่าขึ้นไป เพราะหากค่าการสังเกตมีจำนวนน้อยแล้ว สมการที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลของ 2

วิตามินและโคเอนไซม์ ชีววิทยา ม.ปลาย

วิตามิน วิตามินถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1911 โดยนักชีวเคมีชาวโปแลนด์ชื่อ Funk ซึ่งได้อธิบายถึงสารดังกล่าวว่าเป็นสารอาหารที่มีความจำเป็นต่อชีวิต (vital) และมีสมบัติเป็นสารเอมีน (amine) จึงตั้งชื่อว่า Vitamine ต่อมาได้พบสารอาหารอีกหลายชนิดที่มีความจำเป็นต่อชีวิตแต่มิได้เป็นสารเอมีนจึงได้ตัดพยัญชนะ “e” ตัวท้ายทิ้งไปคงเหลือแต่ “vitamin” เท่านั้น

คลื่นกล (Mechanical wave) ฟิสิกส์ ม.ปลาย

คลื่นกล (Mechanical Wave )           คลื่นกล คือการถ่ายโอนพลังงานจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยการเคลือนที่ไปของคลื่นต้องมีโมเลกุลหรืออนุภาคตัวกลางเป็นตัวถ่ายโอนพลังงานจึงจะทำให้คลื่นแผ่ออกไปได้  ดังนั้นคลื่นกลจะเดินทางและส่งผ่านพลังงานโดยไม่ทำให้เกิดการเคลื่อนตำแหน่งอย่างถาวรของอนุภาคตัวกลาง เพราะตัวกลางไม่ได้เคลื่อนที่แต่จะสั่นไปมารอบจุดสมดุล  ต่างจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง