ปริภูมิเวกเตอร์ (Vector space)

เรื่องเวกเตอร์-ปริภูมิเวกเตอร์ (Vector space)

เรื่องเวกเตอร์-ปริภูมิเวกเตอร์ (Vector space) ปริภูมิเวกเตอร์ บ้านของเวกเตอร์เรียกว่าปริภูมิเวกเตอร์ (vector space) มักจะแทนด้วยตัวอักษร V บ้านในที่นี้หมายถึงคนในบ้านมากกว่าบ้านเลขที่ เหมือนคำกล่าวที่ว่าประเทศคือประชาชน ไม่ใช่เขตแดน ปริภูมิเวกเตอร์เป็นเซตของวัตถุที่ทำตามกฏหนึ่ง กฏก็คือเมื่อคุณวัตถุด้วยตัวเลข (ซึ่งเลือกได้ เช่นจะให้เป็นจำนวนจริงหรือจำนวนเชิงซ้อน แต่เมื่อเลือกแล้วจะเปลี่ยนไม่ได้) หรือเอาวัตถุไปรวมกับวัตถุอื่นในเซต ผลที่ออกมาจะไม่ออกนอกเซต ไม่ออกนอกบ้าน วัตถุที่ทำตามกฏนี้เรียกว่าเวกเตอร์  จำไว้ว่าการคูณด้วยตัวเลขกับการบวกกันเองเป็นการการกระทำการพื้นฐานที่ทำได้กับเวกเตอร์

หลักการใช้ OTHER, ANOTHER และ THE OTHER

หลักการใช้ OTHER, ANOTHER และ THE OTHER การใช้ตระกูล other นั้น มีหลายอย่าง คำว่า other และ another เป็นคำที่ใช้อธิบายถึงบางสิ่งที่แตกต่างออกไป หรือยังคงเหลืออยู่ หรือถูกเพิ่มเติมเข้ามา โดยจะวางไว้ข้างหน้าคำนาม ยกเว้น The other

Another / Other Others / The Other The Others ต่างกันยัง ไงภาษาอังกฤษ

Another / Other Others / The Other The Others ต่างกันยังไง ในภาษาอังกฤษ Others Other Another เป็นคำศัพท์ที่เรียกได้ว่าใช้บ่อยมากๆ และเจอบ่อยมากๆ ทั้งชีวิตจริง และการสอบ TOEIC จริงๆ แล้วมันไม่ได้ยากที่จะเข้าใจครับ ดังนั้นมาเข้าใจมัน แล้วจำให้ขึ้นใจ

หลักการนับเบื้องต้น

หลักการนับเบื้องต้น กฎการบวก ถ้า งานที่หนึ่งมี n1 ทางเลือก งานที่สองมี n2 ทางเลือก และงานที่หนึ่งและงาน ที่สองเป็นอิสระต่อกัน จ านวนทางเลือกในการท างานทั้งหมดมี n1+ n2 ทางเลือก จากกฎการบวกข้างต้นสามารถขยาย เป็นกฎการบวกรูปทั่วไป ดังนี้

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม : เรื่อง การประยุกต์ของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผลิตขึ้นเพื่อให้ครูในโรงเรียนทั่วประเทศได้ใช้ประกอบการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้เครื่องคำนวณวิทยาศาสตร์ ให้นักเรียนนำความรู้เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมไปใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ รวมถึงมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์มากขึ้น

คณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 

คณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 

คณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 คณิตศาสตร์ ประกอบด้วย 8 บทมีดังนี้ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีที่สูงกว่าสอง สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ความคล้าย

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยการกำจัดตัวแปร

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยการกำจัดตัวแปร

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยการกำจัดตัวแปร การแก้สมการเชิงเส้นโดยการกำจัดตัวแปรนั้น เป็นวิธีการที่ทำให้สัมประสิทธิ์ของตัวแปรที่ต้องการกำจัดเป็นจำนวนเดียวกัน หรือเป็นจำนวนตรงข้าม แล้วอาศัยสมบัติของการลบ หรือการบวกตามลำดับ จะทำให้ตัวแปรนั้นหมดไป จะได้สมการใหม่ที่เหลือตัวแปรเดียว แล้วแก้สมการหาค่าตัวแปรตัวนั้น

ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

คณิตศาสตร์ ม.3  ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร -กราฟเส้นตรง

คณิตศาสตร์ ม.3  ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร -กราฟเส้นตรง กราฟเส้นตรง เมื่อกำหนด x และ y เป็นตัวแปร และ A , B และ C เป็นค่าคงตัว โดย A และ B ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน จะได้สมการเส้นตรงอยู่ในรูปทั่วไปที่เรียกว่า สมการเชิงเส้นสองตัวแปร คือ Ax + By + C = 0

เวกเตอร์และสเกลาร์-ฟิสิกส์

เวกเตอร์และสเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์ (Vector  quantity)  คือ ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง  จึงจะได้ ความหมายที่ชัดเจน เช่น  แรง  ความเร็ว  น้ำหนัก  ความเร่ง  โมเมนต์  การขจัด สนามแม่เหล็ก ความดัน