แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการเคลื่อนที่
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการเคลื่อนที่ 1.การหาแรงลัพธ์ 2. การหาแรงลัพธ์ของ 2 แรง 3. การหาแรงลัพธ์ของ 3 แรง 4. การหาทิศของแรงที่กระทำต่อวัตถุจากลักษณะของการเคลื่อนที่
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการเคลื่อนที่ 1.การหาแรงลัพธ์ 2. การหาแรงลัพธ์ของ 2 แรง 3. การหาแรงลัพธ์ของ 3 แรง 4. การหาทิศของแรงที่กระทำต่อวัตถุจากลักษณะของการเคลื่อนที่
ตรรกศาสตร์ ม.4 ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ ค่าความจริงของประพจน์ การสมมูลและนิเสธของประพจน์ สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล ตัวบ่งปริมาณและประโยคเปิด ประพจน์ คือ ประโยคที่บอกค่าความจริง (truth value)ได้ ว่าเป็นจริง (true) หรือ เท็จ(False) เพียงอย่างใดอย่าง หนึ่งเท่านั้น บอกเล่า หรือประโยคปฏิเสธก็ได้ ตัวอย่างประโยคที่ไม่เป็นประพจน์ 1. ประโยคค าถาม เช่น ใครกันนะ 2. ประโยคค าสั่ง เช่น จงนั่งลง 3. ประโยคขอร้อง เช่น ช่วยปิ ดหน้าต่างให้หน่อย 4. ประโยคอ้อนวอน เช่น โปรดเมตตาด้วยเถิด 5. ประโยคแสดงความปรารถนา เช่น ฉันอยากเป็นนก 6. ประโยคเปิด เช่น เขาเป็นดารานักร้อง การเชื่อมประพจน์ โดยปกติเมื่อกล่าวถึงข้อความหรือประโยคนั้นมักจะมีกริยามากกว่าหนึ่งตัว แสดงว่าได้นำประโยคมาเชื่อมกัน มากกว่าหนึ่งประโยค ดังนั้นถ้านำประพจน์มาเชื่อมกัน ก็จะได้ประพจน์ใหม่…
เรียนคณิตศาสตร์ ม.5 คณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่อง ฟังก์ชัน บทที่ 2 ฟังก์ชัน 2.1 ฟังก์ชัน 2.2 ฟังก์ชันเชิงเส้น 2.3 ฟังก์ชันกำลังสอง 2.4 ฟังก์ชันขั้นบันได 2.5 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันเชิงเส้นและฟังก์ชันกำลังสอง-ฟังก์ชัน ม.4 ฟังก์ชันเชิงเส้นและฟังก์ชันกำลังสอง ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันเชิงเส้น คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax + b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง โดยที่ a 0 กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรง วิธีวาดกราฟฟังก์ชันเชิงเส้น ขั้นที่ 1 หาจุดตัดก่อน หาจุดตัดแกน x ให้ค่า y = 0 หาจุดตัดแกน y ให้ค่า x = 0 ขั้นที่ 2 ลากเส้นเชื่อมระหว่างจุด ฟังก์ชันกำลังสอง…
คณิตศาสตร์ ม.5 ตามหลักสูตรของ สสวท. (หลักสูตรใหม่ ฉบับปรับปรุงปี 2560) ซึ่งเป็นหลักสูตรอัพเดทล่าสุด และใช้มาจนถึงปีปัจจุบัน
การให้เหตุผล (1) การให้เหตุผลแบบอุปนัย (2) การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning)
ยูเนียน (Union) อินเตอร์เซกชัน (intersection)และคอมพลีเมนต์(Complement) ของเซต การดำเนินการของเซต 1. ยูเนียน ของ A และ B คือเซตที่เกิดจากการรวบรวมสมาชิกของ A และ B เข้าไว้ด้วยกัน 2. อินเตอร์เซกชัน ของ A และ B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เหมือนกันของ A และ B 3. ผลต่าง A – B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของ A ที่ไม่ใช่สมาชิกของ B 4. คอมพลีเมนต์ ของ A เขียนแทนด้วย A’ คือสับเซตของ U ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่ไม่อยู่ ใน A ปฏิบัติการระหว่างเซต คือ การนำเซตต่าง ๆ…
บทสรุปเรื่อง พาราโบลา พาราโบลาคือเซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งอยู่ห่างจากเส้นตรงที่ เส้นหนึ่งบนระนาบและจุดคงที่จุดหนึ่ง บนระนาบนอกเส้นตรงคงที่นั้น เป็น ระยะทางเท่ากับเสมอ
สมการของพาราโบลา พาราโบลา สมการของพาราโบลา
ตรรกศาสตร์ ม.4 ประพจน์ ประพจน์ (Statement) คือ ประโยคหรือข้อความที่เป็น “จริง” หรือ “เท็จ” อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น เรียก จริง (True: T) หรือ เท็จ (False: F) ว่า ค่าความจริง (Truth value) ของประพจน์
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4) คณิตศาสตร์ ม.4 ตามหลักสูตรของ สสวท. (หลักสูตรใหม่ ฉบับปรับปรุงปี 2560) คณิตศาสตร์ ม.4 หลักสูตรใหม่ เทอม 1 เทอม 2 เราต้องเรียนอะไรบ้าง เพื่อจะได้วางแผนการเรียนของตัวเองได้ดียิ่งขึ้น