พื้นที่ผิวและปริมาตร-คณิตศาสตร์

พื้นที่ผิวและปริมาตร-คณิตศาสตร์

พื้นที่ผิวและปริมาตร ปริซึม ในทางคณิตศาสตร์ ให้ความหมายคำว่า ปริซึม ดังนี้ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งสองอยู่บนระนาบเดียวกัน และด้านข้างแต่ละด้านเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน หรือเรียกง่ายๆว่า แท่งเหลี่ยมตัน    สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับปริซึม ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน X ความสูง

อ่านต่อ
ระบบเชิงเส้น คณิตศาสตร์

ระบบเชิงเส้น คณิตศาสตร์ ม. 3

คณิตศาสตร์ ม. 3 ระบบเชิงเส้น บทเรียนย่อย – การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง – สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว – สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว – ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร – สมการเชิงเส้นสองตัวแปร  การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง เมื่อ a = 1 ..พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว (quadratic polynomial with one variable) คือ พหุนามที่เขียนได้ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว ที่ a ≠ 0 และ x เป็นตัวแปร ในกรณีที่ a = 1 และ c ≠ 0 พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวจะอยู่ในรูป x2 + bx + c ซึ่งเราสามารถแยกตัวประกอบได้โดยการหา จำนวนเต็มสองจำนวนที่คูณกันได้เท่ากับพจน์ที่เป็นค่าคงตัว c และบวกกันได้เท่ากับสัมประสิทธิ์ของ x คือ…

อ่านต่อ

การหาค่าความจริงของประพจน์

คณิตศาสตร์เสริม ( เลขเสริม ) การหาค่าความจริงของประพจน์ ในการเชื่อมประพจน์นั้นบางครั้งจะต้องใช้ตัวเชื่อมหลายตัวมาเชื่อมประพจน์ ซึ่งอาจทำให้เกิดปัญหาในการหาค่าความจริงว่าควรที่จะเริ่มต้นที่ตัวใดก่อน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการลำดับสัญลักษณ์ที่ “คลุมความ” มากที่สุดและรองลงมาตามลำดับ ตารางความจริง คือ ตารางที่สร้างขึ้นเพื่อใช้หาค่าความจริงของประพจน์

อ่านต่อ

คณิตศาสตร์ เรื่องเซต ม.4

คณิตศาสตร์เรื่องเซตม.4 บทที่ 1 เซต 1.1 เซต 1.2 การดำเนินการระหว่างเซต 1.3 การแก้ปัญหาโดยใช้เซต เซต คือเรื่องพื้นฐานทางคณิตศาสตร์เรื่องนึงที่มีความสำคัญ เป็นลักษณะของการรวบรวมจัดหมวดหมู่ การประกอบชุดข้อมูล เป็นหนึ่งในแนวคิดที่สำคัญที่สุดในคณิตศาสตร์สมัยใหม่

อ่านต่อ
สับเซตและเพาเวอร์เซต

สับเซตและเพาเวอร์เซต

สับเซตและเพาเวอร์เซต • สับเซต บทนิยาม เซต A เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B และสามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ A ⊂B

อ่านต่อ
การให้เหตุผล

การให้เหตุผล

การให้เหตุผล ประวัติการให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย และการให้เหตุผลแบบนิรนัย การตรวจสอบการอ้างเหตุผลแบบนิรนัยโดยใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์

อ่านต่อ