มารู้จักกับความเป็นมาประเพณีกินเจ ใน เทศกาลกินเจ (Nine Emperor Gods Festival)

เทศกาลกินเจ (Nine Emperor Gods Festival) ความหมายของเจ คำว่า “เจ” ในภาษาจีนทางพุทธศาสนาฝ่ายมหายานมีความหมายว่า “อุโบสถ” เดิมหมายความว่า “การรับประทานอาหารก่อนเที่ยงวัน” ตามแบบอย่างของชาวพุทธที่รักษาอุโบสถศีล หรือรักษาศีล 8 ที่จะไม่รับประทานอาหารหลังเที่ยงวันไปแล้ว แต่สำหรับพุทธนิกายมหายานนั้น การรักษาอุโบสถศีลจะรวมถึงการไม่รับประทานเนื้อสัตว์ด้วย เราจึงนิยมเรียกการไม่ทานเนื้อสัตว์รวมไปกับการกินเจ ในปัจจุบันผู้ที่รับประทานอาหารทั้ง 3 มื้อ แต่ไม่กินเนื้อสัตว์ก็ยังคงเรียกว่า “กินเจ” ดังนั้นความหมายของคนกินเจ ไม่เพียงแต่ไม่ทานเนื้อสัตว์ แต่ยังต้องดำรงตนอยู่ในศีลธรรมอันดีงาม มีความบริสุทธิ์ สะอาด ทั้งกาย วาจา ใจ

อ่านต่อ

โครงสร้าง Passive ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย

โครงสร้าง Passive ประโยค Passive voice คือประโยคที่ประธานเป็นผู้ถูกกระทำ หรือประโยคที่อยู่ในรูป Subject + Verb to be + Verb 3 (Past Participle) ซึ่งส่วนมากจะถูกเปลี่ยนจากประโยค Active voice (ประโยคที่อยู่ในรูป Subject + Verb1) แต่ก็ไม่ใช่แค่เอามาสลับที่กันเฉยๆ ทุกการเปลี่ยนแปลงย่อมมีเงื่อนไขเสมอ

อ่านต่อ

Active voice และ Passive voice – ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย

ภาษาอังกฤษ เขาแบ่ง “voice” กันอย่างไร ซึ่งหลักๆ แล้ว มีแค่ 2 แบบ Active Voice คือ ประโยคที่ประธานเป็นผู้กระทำกริยาโดยตรง โดยมีกรรมมารับหรือไม่มีกรรมมารับประโยคก็ได้

อ่านต่อ

สรุปสูตร ตรีโกณมิติ (Trigonometry) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (อังกฤษ: Trigonometric function) คือ ฟังก์ชันของมุม ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษารูปสามเหลี่ยมและปรากฏการณ์ในลักษณะเป็นคาบ ฟังก์ชันอาจนิยามด้วยอัตราส่วนของด้าน 2 ด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรืออัตราส่วนของพิกัดของจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย หรือนิยามในรูปทั่วไปเช่น อนุกรมอนันต์ หรือสมการเชิงอนุพันธ์ รูปสามเหลี่ยมที่นำมาใช้จะอยู่ในระนาบแบบยุคลิด ดังนั้น ผลรวมของมุมทุกมุมจึงเท่ากับ 180° เสมอ

อ่านต่อ

มารู้จักสถานที่ท่องเที่ยว เมืองซัปโปโร จังหวัดฮอกไกโด เมืองหิมะ ของญี่ปุ่น

สถานที่ท่องเที่ยวในเมืองซัปโปโร จังหวัดฮอกไกโดนั้น มีเยอะมากๆ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว ยอดนิยมของญี่ปุ่น โดยมีนักท่องเที่ยวมาเยือนสูงสุดถึง 14 ล้านคน ต่อปี ซัปโปโร มีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจมากมาย อาหารขึ้นชื่อของเมือง อาหารทะเลที่ทั้งสดและใหม่

อ่านต่อ

ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี-เคมี ม.ปลาย

ความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมี ประเภทของสารเคมีสารเคมีมีหลายประเภท แต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน สารเคมีจึงจําเป็นต้องมีฉลากที่มีข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นอันตรายของสารเคมีเพื่อความปลอดภัยในการจัดเก็บ การนําไปใช้ และการกําจัด โดยฉลากของสารเคมีที่ใช้ในห้องปฏิบัติการควรมีข้อมูล ดังนี้

อ่านต่อ

ความหมายของพันธะเคมี (Chemical compound) เคมี ม.ปลาย

ความหมายของพันธะเคมี พันธะเคมีคือ แรงยึดเหนี่ยวที่อยู่ระหว่างอะตอมซึ่งทำให้อะตอมต่าง ๆ เข้ามาอยู่รวมกันเป็นโมเลกุลได้ การสร้างพันธะเคมีของอะตอมเกิดขึ้นได้ เนื่องจากอะตอมต้องการจะปรับตัวให้ตนเองมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8 หรือให้ใกล้เคียงกับการครบ 8 ให้มากที่สุด (ตามกฎออกเตต) ดังนั้นจึงต้องอาศัยอะตอมอื่น ๆ มาเป็นตัวช่วยให้อิเล็กตรอนเข้ามาเสริม หรือเป็นตัวรับเอาอิเล็กตรอนออกไป และจากความพยายามในการปรับตัวของอะตอมเช่นนี้เองที่ทำให้อะตอมมีการสร้างพันธะเคมีกับอะตอมอื่น ๆ

อ่านต่อ

พันธะเคมี (Chemical Bonding) เคมี ม.ปลาย

พันธะเคมี (Chemical Bonding) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นระหว่างอนุภาคมูลฐานหรืออะตอม (Atom) ซึ่งเป็นการดึงดูดเข้าหากัน เพื่อสร้างเสถียรภาพในระดับโมเลกุล จนเกิดเป็นสสารหรือสารประกอบที่มีโครงสร้างขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมากขึ้นในธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นน้ำ อากาศ พื้นดิน ก้อนหิน ต้นไม้ รวมไปถึงเนื้อเยื่อและร่างกายของสิ่งมีชีวิต

อ่านต่อ