ค่าดรรชนีหักเหและอัตราเร็วของแสงในตัวกลางต่างๆ

ความเร็วแสง อัตราเร็วของแสง ความเป็นมาของการวัดความเร็วแสง

ความเร็วแสง อัตราเร็วของแสง  ในสุญญากาศ มีนิยามว่าเท่ากับ 299,792,458 เมตรต่อวินาที (หรือ 1,079,252,848.8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือประมาณ 186,282.397 ไมล์ต่อวินาที หรือ 670,616,629.4 ไมล์ต่อชั่วโมง) ค่านี้เขียนแทนด้วยตัว c ซึ่งมาจากภาษาละตินคำว่า celeritas (แปลว่า อัตราเร็ว) และเรียกว่าเป็นค่าคงที่ของไอน์สไตน์ แสงเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดนั่นคือไม่ว่าผู้สังเกตจะเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง ไม่ว่จะอยู่ในสถานที่ใด ด้วยเงื่อนไขใด อัตราเร็วของแสงที่ผู้สังเกตคนนั้นวัดได้ จะเท่าเดิมเสมอ ซึ่งขัดกับความรู้สึกของคนทั่วไป  สังเกตว่าอัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ เป็น นิยาม ไม่ใช่ การวัด ในหน่วยเอสไอกำหนดให้ เมตร

อ่านต่อ
สมบัติของดีเทอร์มิแนนต์

สมบัติของดีเทอร์มิแนนต์-เมทริกซ์

สมบัติของดีเทอร์มิแนนต์ ดีเทอร์มิแนนต์ (Determinant) คือ ค่าของตัวเลขที่สอดคล้องกับเมทริกซ์จัตุรัส ถ้า A เป็นเมทริกซ์จัตุรัส จะเขียนแทนดีเทอร์มิแนนต์ของ A ด้วย det(A) หรือ  โดยทั่วไปการหาค่าดีเทอร์มิแนนต์ที่เจอในข้อสอบจะไม่เกินเมทริกซ์ 3×3 เพราะถ้ามากกว่า 3 แล้ว จะเริ่มมีความยุ่งยาก  ค่าของดีเทอร์มิแนนต์จะเป็นจำนวนจริงและมีเพียงค่าเดียวเท่านั้นที่จะสอดคล้องกับเมทริกซ์จัตุรัส

อ่านต่อ
การคำนวนหาดีเทอร์มิแนนท์-เมทริกซ์

การคำนวนหาดีเทอร์มิแนนท์-เมทริกซ์ ม.ปลาย

ดีเทอร์มิแนนต์เมทริกซ์มิติ 2×2 รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานจากเมทริกซ์มิติ 2×2 เพื่ออธิบายค่าของดีเทอร์มิแนนต์

อ่านต่อ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Trigonometric Function)-คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

ตรีโกณมิติ (Trigonometric function) ฟังก์ชันตรีโกณมิติ คืออะไร ? ตรีโกณมิติ (Trigonometry) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Circular Function คือ ฟังก์ชันของมุม ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษารูปสามเหลี่ยมและ ปรากฏการณ์ในลักษณะเป็นคาบ ฟังก์ชันอาจนิยามด้วยอัตราส่วนของด้าน 2 ด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรืออัตราส่วนของพิกัดของจุด

อ่านต่อ
อนุกรมเรขาคณิต

อนุกรมเรขาคณิต-เลขม.ปลาย

อนุกรมเรขาคณิต  อนุกรมที่ได้จากลำดับเรขาคณิต  เรียกว่า อนุกรมเรขาคณิต และเรียกอัตราส่วนร่วมของลำดับเรขาคณิต (r) ว่าเป็นอัตราส่วนร่วมของอนุกรมเรขาคณิต เช่น

อ่านต่อ

ลำดับเรขาคณิต -คณิตศาสตร์ม.ปลาย

       พิจารณาลำดับ 4,8,16,32,64, ….. จะเห็นว่าเมื่อนำพจน์หลังหารด้วยพจน์หน้าที่อยู่ติดกันมีผลหารเป็นค่าคงตัวเท่ากับ 2 เสมอ บทนิยาม             ลำดับเรขาคณิต (geometric seuence) คือ ลำดับที่มีผลหารซึ่งเกิดจากพจน์ที่ n+1 หารด้วยพจน์ที่ n มีค่าคงตัว และค่าคงตัวนี้เรียกว่า อัตราส่วนร่วม (common ratio) เขียนแทนอัตราส่วนร่วมนี้ด้วย r

อ่านต่อ
ลำดับและอนุกรม (Sequences and series)

ลำดับและอนุกรม (Sequences and series)คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

ลำดับและอนุกรม (Sequences and series) ลำดับ (Sequences) หมายถึง จำนวนหรือพจน์ที่เขียนเรียงกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งลำดับทั่วๆ ไปแบ่งเป็น 2 ชนิดคือ

อ่านต่อ
ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and Insulator)

ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and Insulator)-ฟิสิกส์

ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า ประเภทเป็นตัวนำไฟฟ้า หมายถึงเป็นวัสดุที่ไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี วัสดุบางประเภทเป็นฉนวนไฟฟ้า หมายถึง เป็นวัสดุที่ไฟฟ้าไหลผ่านได้ไม่ดี หรือมีความต้านทานไฟฟ้าสูงมาก คือไม่ยอมให้ไฟฟ้าไหลผ่าน วัสดุทั้งสองประเภทล้วนมีประโยชน์ในการนำมาต่อวงจรไฟฟ้า หรือผลิตเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า

อ่านต่อ

กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ม.ปลาย

กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า กฎของคูลอมน์ นักเรียนรู้ไหมว่าใครเป็นคนวัดค่าคงที่ G  คนที่วัดค่าคงที่ G คือ Cavendish Coulomb ทำการวัดแรงระหว่างประจุในปี ค.ศ. 1785 โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า เครื่องชั่งการบิด ( torsion balance ) ใช้วัดแรงไฟฟ้าระหว่างประจุทั้งสอง เมื่อประจุ Q1 ถูกดันออกจาก Q2 ทำให้เส้นใยสังเคราะห์บิดไปจนนิ่ง เมื่อแรงผลักถูกชดเชยโดยแรงคืนตัวของเส้นใยสังเคราะห์ที่บิด จากหลักการนี้ Coulomb สามารถวัดแรงเป็นฟังก์ชันของระยะทางระหว่างประจุ Q1 และ Q2 ได้ ในทำนองเดียวกัน Coulomb ยังสามารถวัดแรงดึงดูดได้อีกด้วย

อ่านต่อ
ฟิสิกส์เรื่องไฟฟ้าสถิต

ฟิสิกส์เรื่องไฟฟ้าสถิต

 ไฟฟ้าสถิต คืออะไร ไฟฟ้าสถิต หรือ Static electricity เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สมดุลของปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบภายในวัสดุหรือบนพื้นผิวของวัสดุ ซึ่งประจุไฟฟ้าเหล่านั้นจะยังคงอยู่จนกระทั่งเกิดการเคลื่อนที่หรือมีการถ่ายเทประจุ (Electrostatic Discharge)

อ่านต่อ