วิชาสิ่งมีชีวิตกับระบวนการดำรงชีวิต-การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของสิ่งมีชีวิต-ชีววิทยา

การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของสิ่งมีชีวิต การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของสิ่งมีชีวิต     โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมากมายมหาศาลมาอยู่ร่วมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งการทำงานของเซลล์ต่าง ๆ ก็ต้องอาศัยสภาพ

อ่านต่อ

การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของเซลล์ -ชีววิทยา ม.ปลาย

การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของเซลล์ การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของเซลล์      ในสภาวะปกติเซลล์จะสัมผัสกับสารต่าง ๆ หลายชนิดทั้งที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ซึ่งได้แก่ สารละลายที่มีองค์ประกอบของแร่ธาตุต่าง ๆ หรือเซลล์ที่อยู่ข้างเคียงโดยโครงสร้างที่สำคัญของเซลล์ ที่จะเป็นด่านแรกที่สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ และเป็นด่านสำคัญในการรับสารเข้าและขับสารหรือของเสียออกจากเซลล์ คือ เยื่อหุ้มเซลล์

อ่านต่อ

มารู้จักกับระบบน้ำเหลืองและสำคัญต่อร่างกายอย่างไร?

ระบบน้ำเหลือง คืออะไร ระบบน้ำเหลือง (Lymphatic system) คือเครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างเนื้อเยื่อ หลอดเลือด และอวัยวะในร่างกาย เพื่อไหลเวียนของของเหลวไร้สี ที่เรียกว่า น้ำเหลือง ให้กลับเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิต น้ำเหลืองจะไหลเวียนไปทั่วทั้งร่างกาย คล้ายคลึงกับการไหลเวียนของเลือด

อ่านต่อ

pH ของสารละลาย-เนื้อหารายวิชาเคมี ม.ปลาย

ค่า pH ของสารละลาย pH ของสารละลาย คือ ค่าที่แสดงถึงความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออน (H +) หรือไฮโดรเนียมไอออน (H 3O +) ใช้บอกความเป็นกรดหรือเบสของสารละลาย โดยค่า pH ของสารละลายเป็นค่าลอการิทึมของไฮโดรเจนไอออน ( หรือไฮโดรเนียมไอออน) ที่เป็นลบ

อ่านต่อ

สารละลายบัฟเฟอร์ (Buffer Solution) – เคมี ม.ปลาย

สารละลายบัฟเฟอร์ (Buffer solution)             สารละลายบัฟเฟอร์  หมายถึง  สารละลายที่มีความสามารถในการควบคุมระดับ pH เอาไว้ได้  เมื่อเติมสารละลายกรดหรือเบสจำนวนที่ไม่มากเกินไป  เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำบริสุทธิ์ที่เติมกรดหรือเบสจำนวนเท่ากัน  สารละลายที่มีสมบัติเป็นสารละลายบัฟเฟอร์จะควบคุมระดับ  pH  เอาไว้ได้ดีกว่าน้ำกลั่น  สารละลายบัฟเฟอร์เกิดจากการผสมระหว่างสารละลายกรดอ่อนกับเกลือของกรดอ่อนนั้น  หรือสารละลายเบสอ่อนกับเกลือของเบสอ่อนนั้น  แม้ว่าสารละลาย

อ่านต่อ

ทฤษฎีกรด–เบส (acid base theory)เบื้องต้น-เคมี

ทฤษฎีกรด-เบส  ทฤษฎีกรด-เบสอาร์เรเนียส ทฤษฎีกรด-เบสอาร์เรเนียส ให้นิยามว่า กรด คือ สารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน ส่วนเบส คือ สารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน ซึ่งสามารถแสดงสมการทั่วไปดังนี้

อ่านต่อ

พอลิเมอร์ในชีวิตประจำวัน-เคมี

พอลิเมอร์ในชีวิตประจำวัน           พลาสติก พลาสติกมีสมบัติที่เป็นประโยชน์หลายประการ เช่น มีน้ำหนักเบา มีความเหนียว แข็งแรง ไม่ทำปฏิกิริยากับอากาศ กรด เบส และสารเคมี เป็นฉนวนความร้อนและฉนวนไฟฟ้าที่ดี อีกทั้งส่วนมากมักอ่อนตัวและหลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อน จึงนำไปขึ้นเป็นรูปทรงต่าง ๆ ได้ง่าย

อ่านต่อ

กฎการอนุรักษ์พลังงาน (law of conservation of energy)-ฟิสิกส์

กฎการอนุรักษ์พลังงาน (law of conservation of energy) กล่าวว่า “พลังงานเป็นสิ่งที่ไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่และไม่สามารถทำให้สูญหายหรือทำลายได้ แต่จะเกิดการเปลี่ยนรูปพลังงานจากรูปหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่ง” ซึ่งในชีวิตประจำวันเราสามารถนำความรู้เกี่ยวกับกฎการอนุรักษ์พลังงานไปใช้ประโยชน์มากมาย ซึ่งนักเรียนจะได้ศึกษาจากตัวอย่าง ต่อไปนี้

อ่านต่อ

เครื่องวัดค่าสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน (Friction coefficient)

เป็นเครื่องทดสอบที่วัดค่าสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานสถิต (Coefficient of static friction) / แรงเสียดทานจลน์(Coefficient of kinetic friction) ได้อย่างง่ายดาย สามารถคํานวณค่าสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานสถิต (Coefficient of static friction) / แรงเสียดทานจลน์ (Coefficient of kinetic friction) และจัดทําเป็นกราฟได้โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่ประกอบอยู่ (ความเร็วของการสุ่มตัวอย่าง : ค่าสูงสุด 50Hz)

อ่านต่อ

แรงเสียดทาน (Friction)-ฟิสิกส์

แรงเสียดทาน (Friction) คือแรงต้านการเคลื่อนที่บนผิวสัมผัสที่เกิดขึ้นระหว่างวัตถุ หรือแรงที่ต้านทานการเคลื่อนที่ของวัตถุไปบนพื้นผิวสัมผัส ซึ่งส่งผลให้วัตถุดังกล่าวเคลื่อนที่ช้าลงหรือหยุดนิ่งไปในท้ายที่สุด ดังนั้น แรงเสียดทานจึงมีทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ และมีขนาดขึ้นอยู่กับ ลักษณะของพื้นผิวสัมผัส และ แรงหรือน้ำหนัก ที่กระทำในลักษณะตั้งฉากต่อพื้นผิวดังกล่าว หากแรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัสมีขนาดมากเท่าใดย่อมส่งผลให้เกิดแรงเสียดทานมากขึ้นเท่านั้น

อ่านต่อ