โอเมก้า 6 คืออะไร?-ชีววิทยา

โอเมก้า 6 คืออะไร? โอเมก้า 6 เป็นกรดไขมันแบบไม่อิ่มตัว ร่างกายไม่สามารถสร้างเองได้เช่นเดียวกันกับ โอเมก้า 3 แต่เราสามารถได้รับจากการรับประทานอาหาร กรดไขมันโอเมก้า 6 ที่สำคัญมีอยู่ 2 ประเภท คือ กรดไขมันไลโนเลอิก (Linoleic acid : LA) และกรดไขมันอะราคิโดนิก (Arachidonic acid : ARA) พบมากในในน้ำมันพืชต่างๆ เช่น น้ำมันถั่วเหลือง ดอกทานตะวัน ข้าวโพด เป็นต้น

อ่านต่อ

โอเมก้า 3 คืออะไร?-ชีววิทยา

โอเมก้า 3 คืออะไร? โอเมก้า 3 คือกลุ่มของกรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยวชนิดหนึ่ง เป็นกรดไขมันที่มีความจำเป็นต่อร่างกายอย่างมาก ร่างกายของคนเราขาดโอเมก้า 3 ไม่ได้ แต่กลับไม่สามารถสร้างขึ้นมาเองได้ ฉะนั้นจึงต้องได้รับจากการทานอาหารที่มีปริมาณโอเมก้า 3 แทน

อ่านต่อ

เชื้อรา-อาณาจักรฟังไจ-ชีววิทยา

เชื้อรา เราอาจเรียกอีกอย่างว่า อาณาจักรเห็ดรา สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอาณาจักรฟังไจ ประกอบด้วย รา เห็ด และยีสต์

อ่านต่อ

อันตรายจากการกินเค็มเกินปริมาณ

เกลือ มีหน้าที่รักษาสมดุลน้ำ  ทุกครั้งที่ความเค็มมาสัมผัสกับลิ้น สิ่งที่ตามมาด้วยก็คงจะหนีไม่พ้น เกลือในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งโดยปกติแล้วเกลือ หรือโซเดียม

อ่านต่อ

สมบัติสารประกอบไอออนิก-เคมี ม.ปลาย

จากลักษณะการสร้างพันธะไอออนิก  ซึ่งมีแรงยึดเหนี่ยวต่อเนื่องกันเป็นผลึก  และลักษณะอะตอมของธาตุที่มีประจุเป็นไอออนบวกและไอออนลบรวมกันอยู่  ส่งผลให้สารประกอบไอออนิกมีสมบัติต่าง ๆ ดังนี้

อ่านต่อ

สารประกอบไอออนิก (Ionic compound)-เคมี ม.ปลาย

พันธะไอออนิก ( Ionic bond ) หมายถึงแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดในสารประกอบที่เกิดขึ้นระหว่าง 2 อะตอมอะตอมที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่างกันมาก อะตอมที่มีค่าอิเลคโตรเนกาติวิตีน้อยจะให้อิเลคตรอนแก่อะตอมที่มีค่าอิเลคโตรเนกาติวิตีมาก และทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ อะตอมครบ 8 (octat rule) กลายเป็นไอออนบวก และไอออนลบตามลำดับ เกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ และเกิดเป็นโมเลกุลขึ้น เช่น การเกิดสารประกอบ NaCl

อ่านต่อ

เส้นใยนำแสง (Fiber Optic)

เส้นใยนำแสง เส้นใยนำแสงหรือเส้นใยแก้วนำแสง ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ ตัวกลางนำแสง ที่เรียกว่า แกน (core) ทำจากวัสดุใสที่มีดัชนีหักเหของแสงประมาณ 1.6

อ่านต่อ

แสงกับการมองเห็นของดวงตา-ชีววิทยา

การมองเห็นวัตถุ เกิดจากการที่แสงตกกระทบสิ่งต่างๆ แล้วเกิดการสะท้อนเข้าสู่ตาเราทางเลนส์ตา(Lens) ผ่านเข้ามาในลูกตา ทำให้เกิดภาพบนเรตินา (Retina) ที่อยู่ด้านหลังของลูกตา แล้วส่งข้อมูลของวัตถุที่มองเห็นผ่านเส้นประสาท (Optic nerve) ไปสู่สมอง สมองจะทำการแปลข้อมูลเป็นภาพของวัตถุนั้นๆ

อ่านต่อ

พืช gmo มีอะไรบ้าง

GMO  ย่อมาจาก Genetically Modified Organism หมายถึง จุลินทรีย์พืชและสัตว์ที่มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม โดยใช้หลักการและเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมในเชิงวิทยาศาสตร์ คือกระบวนการตัดต่อและปลูกถ่ายยีนจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปสู่สิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่งหรือชนิดเดียวกัน และยีนที่ถูกถ่ายทอดไปนั้นสามารถทำงานสร้างโปรตีนได้เช่นเดิม ดังนั้นการถ่ายยีนจึงทำให้สิ่งมีชีวิตที่ได้รับยีนนั้นเข้าไปสามารถแสดงลักษณะใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนได้ พืชที่ได้รับการถ่ายยีนเข้าไป เรียกว่า พืชตัดต่อยีน (Transgenic plant)

อ่านต่อ