ทฤษฎีบทหลักมูลของพืชคณิต (Fundamental Theorem of Algebra)
ถ้า p(x) เป็นพหุนามที่มีดีกรีมากกว่าศูนย์แล้ว สมการ p(x) = 0
จะมีคำตอบที่เป็นจำนวนเชิงซ้อนอย่างน้อยหนึ่งคำตอบ
การพิสูจน์ทฤษฎีบทหลักมูลของพีชคณิตต้องอาศัยความรู้ระดับสูง จึงจะขอไม่กล่าวถึงในที่นี้ อย่างไรก็ตามผลที่ตามมาของทฤษฎีบทหลักมูลพีชคณิต คือ ทฤษฎีบทต่อไปนี้
ทฤษฎีบท ถ้า p(x) เป็นพหุนามดีกรี แล้วสมการ p(x) = 0
จะมีคำตอบทั้งหมด n คำตอบ (นับคำตอบที่ซ้ำกันด้วย)
โดยทฤษฎีบทหลักมูลของพีชคณิต จะได้ว่า สมการ p(x) = 0 มีอย่างน้อย 1 คำตอบ สมมุติว่าเป็น c1 นั่นคือ x – c1 เป็นตัวประกอบของ p(x) ซึ่งทำให้ได้ว่า
โดยที่ q1 (x) เป็นพหุนามดีกรี n – 1
ถ้า สมการพหุนาม q1(x) ก็จะมีคำตอบอย่างน้อย 1 คำตอบเช่นกัน โดยสมมติให้ชื่อว่า c2 ดังนั้น x – c2 ก็จะเป็นตัวประกอบของq1(x) ซึ่งทำให้ได้ว่า
โดยที่ q2 (x) เป็นพหุนามดีกรี n – 2
เมื่อดำเนินการเช่นนี้ไป n ครั้ง จะได้ว่า
เป็นพหุนามดีกรี n ซึ่งเท่ากับดีกรีของพหุนาม P(x) จึงได้ว่า r(x) ต้องเป็นค่าคงตัว นั่นคือ r(x) = dเมื่อ
หรือคำตอบทั้งหมดของสมการ p(x) = 0 คือ
ทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ
กำหนด p(x) เป็นพหุนามในรูป
เป็นตัวประกอบของพุหนาม p(x) โดยที่ m และ k เป็นจำนวนเต็มซึ่ง
และห.ร.ม. ของ m และ k คือ 1 แล้ว m หาร an ลงตัว และ k หาร a0 ลงตัว
ทฤษฎีบท ถ้าจำนวนเชิงซ้อน z เป็นคำตอบของสมการพหุนาม
โดยที่สัมประสิทธิ์ เป็นจำนวนจริงแล้วสังยุค จะเป็นคำตอบของสมการพหุนามนี้ด้วย
ขอบคุณแหล่งข้อมูล
https://sites.google.com/a/tupr.ac.th/maths-thai-04/unit1/unit1-7?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1