ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ความหมายวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายวิทยาศาสตร์ (Science) ว่า “ความรู้ที่ได้จากการสังเกตและค้นคว้าจากการประจักษ์ทางธรรมชาติและจัดเข้าเป็ นระเบียบ หรือวิชาที่ค้นคว้าได้เป็ นหลักฐานและได้เหตุผล และจัดเข้าเป็นระเบียบ”ประเภทของวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็น 2 แขนงใหญ่ๆ คือ
1. วิทยาศาสตร์บริสุทธ์ิ(Pure Science) ได้แก่ ชีวเคมี เคมี ฟิ สิกส์ คณิตศาสตร์ ซึ่งเป็ นวิทยาศาสตร์พื ้นฐานของวิทยาศาสตร์ทุกสาขา
2. วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science) ได้แก่ วิทยาศาสตร์ทางด้านการแพทย์ ด้านการเกษตร ด้านวิศวกรรม ด้านพนัธุวิศวกรรม ฯลฯซงึ่ น ามาประยกุ ต์ใช้เพื่อก่อให้เกิด ประโยชน์กบั สงัคมโดยมีวิทยาศาสตร์บริสทุ ธิ์เป็นพืน้ฐาน
การเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันนั ้น มิได้มุ่งเน้นที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ในด้านเนื ้อหาสาระวิชาวิทยาศาสตร์
เพียงอย่างเดียวเท่านั ้น แต่จะต้องมีทักษะกระบวนการแสวงหา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้วย เนื่องจากค าว่า “วิทยาศาสตร์” มาจาก
ภาษาอังกฤษว่า “Science” และค าว่า “Science” ก็มาจากค าภาษาลาตินว่า “Scientia” ซึ่งหมายถึง ความรู้ทั่ว ๆ ไป แต่ Science
หรือวิทยาศาสตร์ ในปัจจุบันหมายถึง ส่วนที่เป็ นตัวความรู้ (Body of Knowledge)
ทางวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการตรวจสอบอย่างมีระบบจนเป็ นที่เชื่อถือได้ และส่วนที่เป็ นกระบวนการแสวงหา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Process of Scientific Inquiry)
ประเภทของความรู้ทางวทิยาศาสตร์
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ก็คือ ส่วนที่เป็ นผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ โดยทั่วไปความรู้ทาง วิทยาศาสตร์จะเกิดขึ้นหลังจากได้มีการใช้กระบวนการแสวงหาความรู้ ด าเนินการค้นคว้า สืบเสาะตรวจสอบจนเป็นที่เชื่อถือได้ ความรู้นั ้นจะถูกรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ซึ่งอาจจ าแนกได้เป็น 6 ประเภท คือ
1. ข้อเท็จจริง (Fact) ได้แก่ ความรู้ที่ได้จากการสังเกตวัตถุ เหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์ธรรมชาติมีทั ้งที่สามารถสังเกตได้โดยตรง
และโดยทางอ้อม กรณีที่สังเกตโดยทางอ้อมอาจจำเป็น ต้องมีอุปกรณ์ช่วยในการสังเกต และหลักสำคัญของความรู้ประเภทนี ้
อีกอย่างหนึ่งก็คือ ความรู้ที่จะจัดเป็นข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์จะต้องเป็ นความจริงเสมอ ไม่ว่าจะถูกทดสอบกี่ครั้งก็ตาม
ย่อมได้ผลเหมือนเดิม
– ส่วนประกอบของพืชได้แก่ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล
– น้ำไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต ่ากว่า
– สเปคตรัมของแสงอาทิตย์มี 6 สี คือ ม่วง น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง
2. มโนมติหรือมโนทัศน์ (Concept) หมายถึง ความคิดหลัก (Main Idea) ของคนเราที่มีต่อวัตถุ เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์
ทางธรรมชาติ มโนมติของแต่ละบุคคลจะแตกต่างกัน ขึ ้นอยู่กับประสบการณ์หรือวุฒิภาวะของบุคคลนั ้น ๆ
ตัวอย่างมโนมติทางวิทยาศาสตร์
– สัตว์มีทั งประโยชน์และโทษ
– ตาเป็นอวัยวะที่สำคัญ
เนือ นม ไข่ ผักผลไม้ เป็นอาหารที่จำเป็นแก่ร่างกาย
3. หลักการ (Principle) เป็นกลุ่มของมโนมติที่มีความสัมพันธ์กัน สามารถสรุปเป็ นความรู้ที่น าไปใช้เป็ นหลักในการอ้างอิงและ
พยากรณ์เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องได้
ตัวอย่างของหลักการทางวิทยาศาสตร์
– โลหะเมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัว
หลักการที่ได้มาจากกลุ่มของมโนมติที่มีความสัมพันธ์กัน คือ
1. เหล็กเมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัว
2. ทองแดงเมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัว
3. อะลูมิเนียมเมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัว ฯลฯ
ตัวอย่างกฎทางวิทยาศาสตร์
– กฎของบอยล์ กล่าวว่า ปริมาตรของก๊าซจะเป็ นปฏิภาคผกผันกับความดันถ้าอุณหภูมิคงที่
– กฎสัดส่วนคงที่ กล่าวว่า อัตราส่วนระหว่างมวลสารของธาตุที่รวมกันเป็ นสารประกอบชนิดใดชนิดหนึ่งจะมีค่าคงที่เสมอ
กฎ ก็คือ หลักการที่มักจะเน้นในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล ข้อความที่อยู่ในกฎ และหลักการนั ้นมีจริงอยู่แล้วใน
ธรรมชาติ นักวิทยาศาสตร์ไม่ได้สร้างขึ ้นเองแต่เป็ นเพียงผู้ไปค้นพบเท่านั้น
5. ทฤษฎี (Theory) เป็ นข้อความที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ ้นโดยการยอมรับกันทั่วไปในการใช้อธิบายกฎหรือหลักการ และ
นาไปใช้พยากรณ์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่อยู่ในขอบเขตของทฤษฎีนั้นๆ เพราะสำหรับตัวของกฎหรือหลักการไม่สามารถอธิบายถึงความสัมพันธ์ของตัวเองได้
การสร้างทฤษฎีนักวิทยาศาสตร์อาจจะต้องอาศัยข้อมูลที่รวบรวมไว้ โดยการสังเกตการวัด การทดลอง หรือจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ แล้วจึงใช้วิธีการอุปมาน (การเปรียบ
ในสิ่งที่มี ลักษณะคล้ายคลึงกัน) รวมกับการสร้างจินตนาการเพื่อก าหนดข้อความที่จะน าไปอธิบายถึงความสัมพันธ์ของเหตุและผล
ที่เกี่ยวข้องเกณฑ์ขั้นการยอมรับทฤษฎีทฤษฎีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ ้นนั ้น ไม่ว่าจะสร้างโดยวิธีใดก็ตาม การยอมรับว่าเป็ นทฤษฎีทาง
วิทยาศาสตร์นั ้นจะขึ ้นอยู่กับเกณฑ์ดังต่อไปนี ้
1. ทฤษฎีนั ้นจะต้องอธิบายหลักการและข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องนัน ๆ ได้
2. ทฤษฎีจะต้องอนุมาน (คาดหมาย, คาดคะเน) (Deduction) ไปเป็นกฎหรือหลักการบ้างอย่างได้
3. ทฤษฎีจะต้องทานายปรากฏการณ์ที่อาจเกิดตามมาได้
ตัวอย่างทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์
– ทฤษฎีโมเลกุลของแม่เหล็ก กล่าวว่า “สารแม่เหล็กทุกชนิดจะมีโมเลกุลซึ่งมีอ านาจ แม่เหล็กอยู่ แต่ละโมเลกุลนี ้จะประกอบด้วย
ขั วเหนือและขั ้วใต้ หากโมเลกุลแม่เหล็กเหล่านี ้เรียงตัว กันไม่เป็ นระเบียบ อ านาจแม่เหล็กจะถูกท าลายกันเองหมดเพราะขั ้วเหนือและ
ขั วใต้มีอ านาจคนละชนิด แต่ถ้าหากโมเลกุลแม่เหล็กนั ้นเรียงตัวกันเป็ นระเบียบ ขั ้วเหนือจะชี ้ไปทางปลายหนึ่งของแท่งแม่เหล็ก
ส่วนขั ้วใต้ก็จะชี ้ไปอีกปลายหนึ่งจึงเกิดมีขั ้วอิสระที่ปลายทั ้งสองข้าง”
6. สมมติฐาน (Hypothesis) เป็ นข้อความที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ ้นเพื่อคาดคะเนค าตอบของปัญหาล่วงหน้าก่อนที่จะ
ด าเนินการทดลอง สมมติฐานใดจะเป็ นที่ยอมรับหรือไม่ ขึ ้นอยู่กับหลักฐาน เหตุผลที่จะสนับสนุนหรือคัดค้านทั ้งทางตรงและทางอ้อม
ตัวอย่างสมมติฐานทางวิทยาศาสตร์
– ถ้าเพิ่มตัวละลาย จุดเดือดของสารละลายจะเพิ่มขึ้น
– ถ้าเพิ่มปริมาณปุ๋ ยให้กับพืชมากเกินไป พืชจะเฉาและตาย
กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวทิยาศาสตร
กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการคิดและกระทำอย่างมีระบบ ในการค้นหาข้อเท็จจริง
หาความรู้ต่าง ๆ จากปรากฏการณ์ธรรมชาติ และจากสถานการณ์ที่อยู่รอบตัวเรา โดยทั่วไป เมื่อเรามีความสนใจหรือต้องการ
แก้ปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ก็จะต้องหาทางค้นคว้า เพื่อหาค าตอบมาอธิบายหรือแก้ปัญหานั้นๆ วิธีการที่ใช้ในการค้นคว้า
หาคำตอบมีหลายวิธี แต่ที่นิยมกัน ได้แก่ วิธีการทางวิทยาศาสตร์
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
วิธีการทางวิทยาศาสตร์มีขี้นตอนของการหาความรู้ 4 ขั้นตอน ดังนี ้
1. ขั้นระบุปัญหา (Science the Problem) เริ่มจากการสังเกต โดยใช้ประสาทสัมผัสทั ้ง 5 ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ ้น และผิวกาย
อย่างใดอย่างหนึ่งหรือจะใช้ร่วมกันหลายอย่างก็ได้ หรืออาจใช้เครื่องมือทดสอบง่าย ๆ ก็ได้ ทั ้งนี ้จะไม่ใส่ความคิดเห็นส่วนตัว
ของผู้สังเกต เช่น ดอกไม้เมื่อตัดออกจากต้นแล้วจะเหี่ยวเร็วกว่าที่ยังอยู่กับต้น หรือผักหลังเก็บเกี่ยวจากต้นแล้วจะเหี่ยว
เมื่อชั่งดูจะมีน ้าหนักน้อยลง เป็ นต้น ซึ่งขั ้นนี ้เป็ นที่มาของปัญหาต่าง ๆ
2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (Making the Hypothesis) เป็ นการคาดคะเนตอบของปัญหาที่เกิดขึ ้นจากการสังเกตว่าจะเป็ นอย่างไร
โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ที่เคยมีมาอธิบาย ซึ่งสามารถตั ้งสมมติฐานของค าตอบได้มากกว่า 1 ข้อ แล้วสามารถพิสูจน์ว่า
การตั ้งสมมติฐานถูกต้องหรือไม่ด้วยการทดลอง
3. ขัน้ พสิูจน์หรือทดลอง (Experimental) ในการทดลองเพื่อตรวจสอบว่าสมมติฐานที่ตั ้งไว้ถูกต้องหรือไม่ อย่างไรก็ตาม
ควรท าการทดลองไม่ต ่ากว่า 2 ครั ้ง เพื่อยืนยันว่าผลการทดลอง ที่ได้มีค าตอบเป็ นอย่างเดียวกันหรือสอดคล้องกัน โดยมีวิธีการทดลอง
แบ่งเป็ น 4 ขั นตอน ดังนี ้
3.1 การออกแบบการทดลอง เป็ นการวางแผนการปฏิบัติงาน การทดลองให้รัดกุม เพื่อก าหนดตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือ
เรื่องที่จะศึกษา ซึ่งตัวแปรจะมี 3 ตัวแปร คือ
1) ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ (Independent Variable) หมายถึง สิ่งที่เป็ น สาเหตุท าให้เกิดผลต่าง ๆ ที่ต้องการวัดหรือศึกษา
ขณะท าการทดลอง
2) ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง สิ่งที่เป็ นผลอันเนื่องมาจาก ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ
3) ตัวแปรควบคุม (Controlled Variable) หมายถึง สิ่งอื่น ๆ ที่อยู่นอกเหนือ ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระที่จะมีผลต่อตัวแปรตาม
จึงต้องมีการควบคุมเพื่อมิให้มีผลหรือข้อโต้แย้งในการสรุปผลการทดลองได้
3.2 การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ที่จะใช้ในการพิสูจน์หรือทดลอง
3.3 การก าหนดขั ้นตอนของการทดลอง ก าหนดระยะเวลา และวิธีบันทึกผลการทดลอง และการน าเสนอข้อมูลที่ได้จากการทดลอง
3.4 ท าการทดลองตามที่ก าหนดไว้
4. ขั้นสรุปผลการทดลอง (Conclusion) เป็ นขั ้นตอนหลังจากท าการพิสูจน์หรือทดลองเสร็จแล้ว โดยเริ่มจากการน าข้อมูลที่ได้
จากการทดลองมาวิเคราะห์ เรียบเรียง แปลความหมายและลงความเห็นเป็ นข้อสรุป จากนั ้นน ามาเขียนรายงานผลการทดลองที่ได้
การแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ นอกจากจะใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์แล้ว ผลของการศึกษาค้นคว้าจะมีประสิทธิภาพเพียงใด
นั ้นขึ ้นอยู่กับคุณลักษณะนิสัยของบุคคลนั้นๆ เป็นองค์ประกอบอีกด้วย คุณลักษณะนิสัยที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ในการ
แสวงหาความรู้ เรียกว่า เจตคติทางวิทยาศาสตร์
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
เจตคติทางวิทยาศาสตร์ มาจากค าภาษาอังกฤษว่า “Attitude” ซึ่งมีรากศัพท์ภาษาลาตินว่า “Aptus” แปลว่า โน้มเอียง เหมาะสม
ค านี ้ได้มีผู้ใช้ค าอื่น ๆ ในความหมายเดียวกันอีก คือ ทัศนคติและเจตคติ เป็ นต้น
เจตคติหมายถึง สภาพทางจิตใจของบุคคลแต่ละบุคคลที่เกิดจากประสบการณ์หรือการ เรียนรู้และมีความพร้อมเพื่อที่จะแสดง
พฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งต่าง ๆ หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ในทางใดทางหนึ่ง เช่น ชอบ ไม่ชอบ สนับสนุน หรือต่อต้าน เป็ นต้น
เจตคติทางวิทยาศาสตร์นั ้นแตกต่างจากเจตคติทั่วไป กล่าวคือ เจตคติทางวิทยาศาสตร์นั ้นจะมีลักษณะส าคัญ ซึ่งอาจสรุปได้ ดังนี ้
1. มีความละเอียด ถี่ถ้วน อุตสาหะ
2. มีความอดทน
3. มีเหตุผลไม่เชื่อสิ่งใดง่าย ๆ โดยปราศจากข้อเท็จจริงมาสนับสนุนอย่างเพียงพอ
4. มีใจกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น ไม่ยึดมั่นในความคิดของตนเพียงฝ่ ายเดียว
5. มีความกระตือรือร้นที่จะค้นหาความรู้
6. มีความซื่อสัตย์สุจริต
7. สามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้
8. ยอมรับการเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าใหม่ ๆ
เมื่อกล่าวถึงธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ บางคนอาจคิดว่าเป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม และอาจคิดว่าเป็นวิทยาศาสตร์ที่เน้นการศึกษาสิ่งมีชีวิต ซึ่งถือว่าเป็นความเข้าใจคลาดเคลื่อน นักวิทยาศาสตร์ศึกษาได้ให้ความหมายของธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ไว้หลายความหมาย เช่น McComas (2000) เสนอว่า ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ คือ การผสมผสานการศึกษาทางสังคมของวิทยาศาสตร์ในหลายด้าน เช่น ด้านประวัติการได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สังคมวิทยา และปรัชญาทางวิทยาศาสตร์ เพื่ออธิบายว่าวิทยาศาสตร์คืออะไร นักวิทยาศาสตร์มีกระบวนการทำงานอย่างไร นักวิทยาศาสตร์ทำงานเป็นกลุ่มสังคมได้อย่างไร และสังคมมีปฏิกิริยาอย่างไรต่อวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ Johnston และ Southerland (2002) อธิบายว่าธรรมชาติของวิทยาศาสตร์คือ คำอธิบายที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับสาระของวิทยาศาสตร์ จากการให้ความหมายธรรมชาติของวิทยาศาสตร์พอจะสรุปความหมายของธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ได้ว่า ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ วิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ได้มาซึ่งหาความรู้ การทำงานหรือสังคมของนักวิทยาศาสตร์ และคุณค่าของวิทยาศาสตร์ต่อสังคม ซึ่ง American Association for the Advancement of Science (National Research Council, 1990) ได้เสนอขอบข่ายของวิทยาศาสตร์ได้ 3 ประเด็น คือ โลกทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ (The scientific world view) การแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific inquiry) และกิจการทางวิทยาศาสตร์ (The scientific enterprise) โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. โลกเป็นเรื่องที่สามารถเข้าใจได้
2. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์สามารถเปลี่ยนแปลงได้
3. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีความความคงทน
4. วิทยาศาสตร์ไม่สามารถให้คำตอบที่สมบรูณ์แก่คำถามทุกคำถามได้
5. วิทยาศาสตร์ต้องการหลักฐาน
6. วิทยาศาสตร์เป็นการผสมผสานระหว่างเหตุผลกับจินตนาการ
7. วิทยาศาสตร์ให้คำอธิบายและคำทำนาย
8. นักวิทยาศาสตร์พยายามที่จะบ่งชี้และหลีกเลี่ยงอคติ
9. วิทยาศาสตร์ไม่ใช่เรื่องการเชื่อฟังผู้มีอำนาจหรือเผด็จการ
10. วิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมทางสังคมที่สลับซับซ้อน
11. วิทยาศาสตร์ได้ถูกจัดระบบอยู่ในเนื้อหาวิชาสาขาต่างๆ และมีการดำเนินการในสถาบันต่างๆ
12. การดำเนินงานทางวิทยาศาสตร์ต้องมีจรรยาบรรณ
13. นักวิทยาศาสตร์เข้าร่วมในกิจกรรมสาธารณะทั้งในฐานะที่เป็นผู้เชี่ยวชาญและเป็นพลเมือง
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
จากงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ศึกษาทั้งในและต่างประเทศ (เช่น Abd-El-Khalick and Lederman, 2000; กาญจนา มหาลี และ ชาตรี ฝ่ายคำตา, 2553; เวียงชัย แสงทอง ชาตรี ฝ่ายคำตา และนฤมล ยุตาคม, 2553) พบว่าครูและผู้เรียนมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร์มาก ซึ่งจะขอยกตัวอย่างความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนที่พบบ่อยดังต่อไปนี้
1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคือสิ่งเดียวกัน
2. วิทยาศาสตร์สามารถตอบคำถามได้ทุกคำถาม
3. วิทยาศาสตร์คือความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่อธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติเท่านั้นไม่เกี่ยวข้องกับวิธีได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์
4. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีอยู่แล้วในธรรมชาติ นักวิทยาศาสตร์เพียงแต่ค้นคว้าหรือดึงความรู้นั้นมา
5. ความรู้วิทยาศาสตร์ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
6. กฎได้มาจากทฤษฏีที่ได้รับการพิสูจน์มาแล้ว
7. กฎเป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้
8. การได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไม่ต้องอาศัยจินตนาการหรือความรู้เดิมของนักวิทยาศาสตร์
9. ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการสร้างองค์ความรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร
10. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (scientific process) ที่ใช้ในการได้มาซึ่งความรู้มีเพียงวิธีเดียวคือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific methods)
11. วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นวิธีที่มีขึ้นตอนตายตัว คือ สังเกต กำหนด ตั้งสมมติฐาน ทดลอง สรุปผลการทดลอง ตามลำดับ
12. นักวิทยาศาสตร์สามารถทำการศึกษาได้อย่างอิสระโดยสังคมไม่มีอิทธิพลต่อการติดสินศึกษาสิ่งนั้น