หลังจากห่างหายไปนาน ครับ วันนี้เราจะมาพูดถึงกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 3 ข้อ (ซึ่งเป็นกฎพื้นฐานที่คนเรียนฟิสิกส์จำเป็นต้องเข้าใจ) คือ
- กฎข้อที่ 1 วัตถุจะยังคงสภาพอยู่นิ่ง หรือคงสภาพการเคลื่อนที่ที่มีความเร็วคงตัว นอกจากจะมีแรงลัพธ์ซึ่งมีค่าไม่เท่ากับศูนย์มากระทำต่อวัตถุนั้น
- กฎข้อที่ 2 ถ้ามีแรงลัพธ์ซึ่งมีขนาดของแรงไม่เท่ากับศูนย์มากระทำต่อวัตถุ วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง
- กฎข้อที่ 3 แรงกิริยา = แรงปฏิกิริยา (แรงที่มีขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้ามกัน)
น้ำหนัก (Weight)
น้ำหนัก (W) คือ แรงที่โลกดึงดูดวัตถุ ซึ่งมีทิศทางเดียวกับความเร่ง g (มีทิศทางพุ่งเข้าหาจุดศูนย์กลางของโลก) น้ำหนักจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ น้ำหนักมีหน่วยเป็น นิวตัน (N)
มวล (Mass)
ความเฉื่อย (Inertia)
กฎข้อที่ 1 ΣF = 0 หรือกฎของความเฉื่อย
“วัตถุจะรักษาสภาพหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว คงที่ในทิศทางเดิมก็ต่อเมื่ อ แรงลัพธ์ที่มากระทำ ต่อวัตถุมีค่าเท่ากับศูนย์”
เช่น
-หนังสือวางอยู่นิ่งๆ ไม่มีแรงมากระทำ
-รถเคลื่อนที่ด้วยความเร็วค
-ดาวเสาร์เคลื่อนที่รอบดวงอ
-การที่เราเดินจากที่หนึ่งไ
กฎข้อที่ 2 ΣF = ma หรือกฎของความเร่ง
“เมื่อมีแรงลัพธ์ที่ไม่เป็น ศูนย์มากระทำกับวัตถุ วัตถุจะมีความเร่งในทิศทางเ ดียวกับแรงลัพธ์นั้น”
เช่น
-การออกแรงเตะฟุตบอล ฟุตบอลเคลื่อนที่ไปตามทิศทา
-เมื่อเราออกแรงเท่ากันเพื่
-โยนหินลงมาจากยอดเขา ยิ่งตกไกลหินยิ่งเร็วขึ้นๆ เนื่องจากมีความเร่งจากแรงโ
กฎข้อที่ 3 (แรงกิริยา = แรงปฏิกิริยา)
“แรงกิริยา-แรงปฏิกิริยาเป็ นแรงที่มีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงกันข้าม และกระทำกับวัตถุคนละชนิด”
-ชายคนที 1 ต่อยหน้าชายคนที่ 2 ชายคนที่ถูกต่อยเจ็บหน้า และชายคนที่ต่อยก็เจ็บมือด้
-การตอกตะปู ค้อนกับตะปูมีแรงกระทำต่อกั
-ขณะที่คนกำลังพายเรือ แรงที่ไม้พายกระทำต่อน้ำ เป็นแรงกิริยา และน้ำจะดันไม้พายไปข้างหน้