-
ภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์(Faculty of Medicine)
คณะแพทยศาสตร์ประกอบด้วย 21 ภาควิชา ได้แก่
- 1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
- 2. จิตเวชศาสตร์ (Psychiatry)
- 3. จุลชีววิทยา (Microbiology)
- 4. นิติเวชศาสตร์ (Forensic Medicine)
- 5. ปรสิตวิทยา (Parasitology)
- 6. พยาธิวิทยา (Pathology)
- 7. เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม (Preventive and Social Medicine)
- 8. สรีรวิทยา (Physiology)
- 9. กุมารเวชศาสตร์ (Pediatrics)
- 10. จักษุวิทยา (Ophthalmology)
- 11. ชีวเคมี (Biochemistry)
- 12. เภสัชวิทยา (Pharmacology)
- 13. รังสีวิทยา (Radiology)
- 14. วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology)
- 15. เวชศาสตร์ชันสูตร(Laboratory Medicine)
- 16. ศัลยศาสตร์ (Surgery)
- 17. ออร์โธปิดิกส์ Orthopedics)
- 18. เวชศาสตร์ฟื้นฟู (Rehabilitation Medicine)
- 19. สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา (Obstetrics and Gynecology)
- 20. โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otolaryngology)
- 21. อายุรศาสตร์ (Medicine)
-
หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ
- แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) Doctor of Medicine (M.D.) หลักสูตร 6 ปี
-
หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 10 สาขาวิชา ได้แก่
- 1. สุขภาพจิต (Mental Health)
- 2. ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ (Medical Parasitology)
- 3. การวิจัยและการจัดการด้านสุขภาพ (Health Research and Management)
- 4. ชีวเคมีทางการแพทย์ (Medical Biochemistry)
- 5. ฉายาเวชศาสตร์ (Medical Imaging)
- 6. อายุรศาสตร์ (Medicine)
- 7. วิทยาศาสตร์การแพทย์* (Medical Sciences)
- 8. การพัฒนาสุขภาพ (นานาชาติ) (Health Development) **
- 9. เวชศาสตร์การกีฬา *** (Sports Medicine)
- 10. วิทยาศาสตร์การแพทย์ (นานาชาติ) ***** (Medical Sciences)
-
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ที่รับผิดชอบโดยคณะ
ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (ป.บัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก) Higher Graduate Diploma of Clinical Sciences (Higher.Grad.Dip.of Clin. Sc.) 29 สาขาวิชา ได้แก่
- 1. จิตเวชศาสตร์ (Psychiatry) (2552)
- 2. จิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น (2545) (Child and Adolescent Psychiatry)
- 3. จิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่นขั้นสูง (2554) (Advanced Child and Adolescent Psychiatry)
- 4. นิติเวชศาสตร์ (2555) (Forensic Medicine)
- 5. พยาธิวิทยา (2552) (Pathology)
- 6. กุมารเวชศาสตร์ (Pediatrics) (2555)
- 7. จักษุวิทยา (Ophthalmology) (2552)
- 8. รังสีวิทยา (Radiology) (2552)
- 9. วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology) (2552)
- 10. พยาธิวิทยาคลินิก (Clinical Pathology) (2552)
- 11. ศัลยศาสตร์ทั่วไป (General Surgery) (2547)
- 12. ศัลยศาสตร์ทั่วไป (General Surgery) (2553)
- 13. ศัลยศาสตร์ (Surgery) (2553)
- 14. ประสาทศัลยศาสตร์ (Neurological Surgery) (2552)
- 15. ศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา (Urologic Surgery) (2552)
- 16. ศัลยศาสตร์ตกแต่ง (Plastic Surgery) (2552)
- 17. ศัลยศาสตร์ทรวงอก (Cardiothoracic Surgery) (2553)
- 18. กุมารศัลยศาสตร์ (Pediatric Surgery) (2552)
- 19. ศัลยศาสตร์ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก (Colorectal Surgery) (2552)
- 20. ออร์โธปิดิกส์ (Orthopedics) (2552)
- 21. เวชศาสตร์ฟื้นฟู (Rehabilitation Medicine) (2552)
- 22. สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา (Obstetrics and Gynecology) (2552)
- 23. โสต ศอ นาสิกวิทยา (2552) (Otolaryngology)
- 24. อายุรศาสตร์ทั่วไป (2545) (General Medicine)
- 25. อายุรศาสตร์ (2552) (Internal Medicine)
- 26. ตจวิทยา (Dermatology) (2556)
- 27. เวชศาสตร์ครอบครัว**** (2556) (Family Medicine)
- 28. โรคลมชัก******* (Epilepsy) (2553)
- 29. ฟิสิกส์การแพทย์ (2554) (Medical Physics)
-
หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ
วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 7 สาขาวิชา ได้แก่
- 1. เวชศาสตร์ชุมชน (Community Medicine)
- 2. การวิจัยและการจัดการด้านสุขภาพ (Health Research and Management)
- 3. ชีวเคมีทางการแพทย์ (Medical Biochemistry)
- 4. อายุรศาสตร์ (Medicine)
- 5. วิทยาศาสตร์การแพทย์****** (Medical Sciences)
- 6. วิทยาศาสตร์การแพทย์ (นานาชาติ)***** (Medical Sciences)
- 7. ชีวเวชศาสตร์และชีวเทคโนโลยี (นานาชาติ) ******** (Biomedical Sciences and Biotechnology)
-
หมายเหตุ
- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 8 ภาควิชา คือ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ จุลชีววิทยา ชีวเคมี พยาธิวิทยา เภสัชวิทยา ปรสิตวิทยา สรีรวิทยา และอายุรศาสตร์
- สาขาวิชาการพัฒนาสุขภาพ (นานาชาติ) ไม่สังกัดภาควิชาใดภาควิชาหนึ่ง แต่อยู่ในความรับผิดชอบของ 4 ภาควิชา คือ ภาควิชาสรีรวิทยา ชีวเคมี ออร์โธปิดิกส์ฯ และอายุรศาสตร์ และขอความร่วมมือกับ หน่วยงานในจุฬาฯ 2 หน่วยงาน คือ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์และวิทยาลัยการสาธารณสุข
- สาขาวิชาเวชศาสตร์การกีฬา มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 4 ภาควิชา คือ ภาควิชาสรีรวิทยา ชีวเคมี ออร์โธปิดิกส์ฯ และอายุรศาสตร์
- สาขาวิชาเวชศาสตร์ครอบครัว มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 8 ภาควิชา คือ ภาควิชาอายุรศาสตร์ เวชศาสตร์ฟื้นฟู รังสีวิทยา จิตเวชศาสตร์ โสต-นาสิก-ลาริงซ์วิทยา เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม จักษุวิทยา และวิสัญญีวิทยา
- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 6 ภาควิชา คือ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ชีวเคมี สรีรวิทยา ปรสิตวิทยา เภสัชวิทยา และพยาธิวิทยา
- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ระดับปริญญาเอก มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 6 ภาควิชา คือ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ชีวเคมี สรีรวิทยา ปรสิตวิทยา เภสัชวิทยา และพยาธิวิทยา
- สาขาวิชาโรคลมชัก ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง มีหน่วยงานรับผิดชอบ คือ ภาควิชาอายุรศาสตร์ รังสีวิทยา จิตเวชศาสตร์ และศูนย์โรคลมชัก สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
- สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรนานาชาติ) มีหน่วยงานรับผิดชอบ 6 ภาควิชา คือ กายวิภาคศาสตร์ ชีวเคมี สรีรวิทยา ปรสิตวิทยา เภสัชวิทยา และจุลชีววิทยาเป็นหลักสูตรร่วมระหว่างคณะแพทยศาสตร์ และ School of Biological Sciences, University of Liverpool ประเทศอังกฤษ