an = a1 + (n – 1)*d |
1) พิจาารณาลำดับ
1,3,5,7,9,…
จะเห็นว่า ถ้าเอา
3-1=2
5-3=2
7-5=2
9-7=2
นำพจน์ที่อยู่ข้างหลัง ลบ พจน์ที่อยู่ด้านหน้า จะได้ค่าค่าหนึ่งซึ่งคงที่ตลอดจากตัวอย่างคือ 2
ลำดับที่มีลักษณะเช่นนี้ เรียกว่าลำดับ เลขคณิต(Arithmetic Sequence)
2) พิจารณาลำดับ
4,8,12,16,20,24,….
จะเห็นว่า ถ้าเอา
8-4=4
12-8=4
16-12=4
20-16=4
24-20=4
นำพจน์ที่อยู่ข้างหลัง ลบ พจน์ที่อยู่ด้านหน้า จะได้ค่าค่าหนึ่งซึ่งคงที่ตลอดจากตัวอย่างคือ 4
ลำดับที่มีลักษณะเช่นนี้ เรียกว่าลำดับ เลขคณิต(Arithmetic Sequence)
จากตัวอย่างข้อ 1) และ 2)
ค่าที่เกิดจากการนำ พจน์ที่อยู่ด้านหลัง ลบ พจน์ที่อยู่ด้านหน้า ค่าๆนี้เรียนกว่า ผลต่างร่วม(common difference) เราจะแทนผลต่างร่วมด้วยตัว d
ดังนั้นจึงได้ว่า
ลำดับ 1,3,5,7,9,…
มีผลต่างร่วมหรือว่า d=2
และ
ลำดับ 4,8,12,16,20,24,….
มีผลต่างร่วมหรือ d=4
2.ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต ลำดับที่มีอัตราส่วนของพจน์ที่ n+1 ต่อพจน์ที่ n เป็นค่าคงที่ทุกค่าของจำนวนนับ n และเรียกค่าคงที่นี้ว่า“อัตราส่วนร่วม”เขียนแทนด้วย
ถ้า a1, a2, a3, …, an, an+1 เป็นลำดับเรขาคณิต แล้ว จะได้
an = a1*rn-1 |
ตัวอย่างเช่น
5,10,20,40,80,160,…
ลำดับนี้เป็นลำดับเรขาคณิต เพราะว่า
105=2
2010=2
4020=2
8040=2
16080=2
จะเห็นว่าจับพจน์ที่อยู่ข้างหลังหารด้วยพจน์ที่อยู่ติดกันข้างหน้าจะแล้วได้ค่าเท่ากันตลอดคือ 2 เรียกลำดับแบบนี้ว่า ลำดับเรขาคณิต
จากตัวอย่างผลหารที่หารออกมาคือ 2 เจ้าเลขสองนี้เขาเรียกว่า อัตราส่วนร่วม(common ratio)
ซึ่งแทนด้วยค่า r
ดังนั้น เราสามารถค่า r ได้โดยเอาพจน์ที่อยู่ข้างหลังหารด้วยพจน์ที่อยู่ข้างหน้าติดกัน หรือถ้าเขียนให้เป็นภาษาคณิตศาสตร์คือ
r=an+1an
1) 5,15,45,… จงหาพจน์ทั่วไป
วิธีทำ จากลำดับที่กำหนดให้เราจะเห็นว่าเป็นลำดับเรขาคณิตและมี
r=155=3
เนื่องจากลำดับนีัเป็นลำดับเรขาคณิต ดังนั้น
an=a1rn−1 แทนค่า r และ a1a1ลงไป
an=5(3)n−1
2) 1,−12,14,−18,…
วิธีทำ จากลำดับที่กำหนดให้เป็นลำดับเรขาคณิต
r=−121
เนื่องจากลำดับที่กำหนดให้เป็นลำดับเรขาคณิต ดังนั้น
an=a1rn−1 แทนค่า r และ a1a1 ลงไป
an=1(−12)n−1
3) กำหนดลำดับ 162,-54,18,… จงหาค่าของ a7a7
วิธีทำ เนื่องจากลำดับที่กำหนดให้เป็นลำดับเรขาคณิต
ดังนั้น r=−1854=−13
พจน์ทั่วไปของลำดับเรขาคณิตคือ
an=a1rn−1 แทนค่า r และ a1a1ลงไป
an=162(−13)n−1
ดังนั้น
a7=162(−137−1)
a7=162(−136)
a7=162(1729)
7=162729
ตอบ a7=29
4) 243 เป็นลำดับที่เท่าไรของลำดับ 1,3–√,3,…1,3,3,…
วิธีทำ เนื่องจากลำดับที่กำหนดให้เป็นลำดับเรขาคณิต
โดยที่ r=31=3 a1=1
พจน์ทั่วไปของลำดับเรขาคณิตคือ an=a1rn−1an=a1rn−1
แทนค่า r และ a1a1 ลงไปในพจน์ทั่วไปเลยครับ จะได้
an=1(3)n−1
เขาถามว่า 243 เป็นพจน์ที่เท่าไรของลำดับนี้ ดังนั้น จะได้
243=1(3)n−1
35=312×(n−1) รากที่สองของสามคือ สามกำลังหนึ่งส่วนสอง
35=3n−12 อย่าลืมนะ 243 เท่ากับ สามยกกำลังห้า
ฐานเท่ากันแล้วคือ 3 ดังนั้นจะได้เลขชี้กำลังเท่ากันคือ
5=n−12
5×2=n−1
10+1=n
n=11
ตอบ 243 เป็นพจน์ที่ 11 ของลำดับนี้
5) จงหาว่าลำดับ 5,52–√,10,…,405,52,10,…,40 มีจำนวนกี่พจน์
วิธีทำ ข้อนี้ไม่ยาก ข้อสอบในห้องเรียนชอบถามเพราะเป็นการทดสอบความเข้าใจพื้นฐานของความรู้เรื่องลำดับเรขาคณิต
แน่นอนคับลำดับนี้เป็นลำดับเรคณิต โดยมี r=525=2 และ a1=5
พจน์ทั่วไปของลำดับเรขาคณิตคือ an=a1rn−1
ข้อนี้เขาต้องการรู้ว่าลำดับมีกี่พจน์ เราก็ต้องไปหาว่า 40 ซึ่งเป็นพจน์สุดท้ายของลำดับนี้เป็นพจน์ที่เท่าไร ก็คือ แทน an=40an=40ลงไปในพจน์ทั่วไป จะได้
40=52(n−1)
405=2(n−1)
8=212(n−1) รูทสองมีค่าเท่ากับสองยกกำลังหนึ่งส่วนสอง
23=212(n−1)
ดังนั้นจะได้
3=12(n−1)
3×2=n−1
6=n−1
6+1=n
n=7
ตอบ ดังนั้น 40 เป็นพจน์ที่ 7 ของลำดับนี้และเป็นพจน์สุดท้ายด้วยดังนั้นลำดับนี้มี 7 พจน์นั่นเอง
ลำดับเรขาคณิต
พิจารณาลำดับ 4,8,16,32,64, ….. จะเห็นว่าเมื่อนำพจน์หลังหารด้วยพจน์หน้าที่อยู่ติดกันมีผลหารเป็นค่าคงตัวเท่ากับ 2 เสมอ
บทนิยาม
ลำดับเรขาคณิต (geometric seuence) คือ ลำดับที่มีผลหารซึ่งเกิดจากพจน์ที่ n+1 หารด้วยพจน์ที่ n มีค่าคงตัว และค่าคงตัวนี้เรียกว่า อัตราส่วนร่วม (common ratio) เขียนแทนอัตราส่วนร่วมนี้ด้วย r
ตัวอย่างที่ จงหาพจน์สุดท้ายของลำดับเรขาคณิตที่มีพจน์แรก เท่ากับ 3 และมีอัตราส่วนร่วมเท่ากับ 2/3 และจำนวนพจน์เท่ากับ 8
วิธีทำ
จากโจทย์ จะได้ว่า an = a1rn-1
an = 3(2/3)8-1
an = 3(2/3)7
an = 27/36
an = 128 / 729
ดังนั้น พจน์สุดท้ายของลำดับเรขาคณิต คือ 128 / 729
ตัวอย่างที่ จงหาพจน์แรกของลำดับเรขาคณิตที่มีพจน์ที่ 4 เท่ากับ 9 และพจน์ที่ 9 เท่ากับ 2187
วิธีทำ
สมมติให้ลำดับเรขาคณิต คือ a1, a1r, a1r2, a1r3
ดังนั้น a4 = a1r3 = 9
a9 = a1r8 = 2187
และ a9 / a4 = a1r8 / a1r3 = 2187 / 9
ซึ่งจะได้ว่า r5 = 2187 / 9 = 243 = 35
r = 3
เราทราบแล้วว่า พจน์ที่ 4 หรือ a1r3 = 9
ดังนั้น เราจะสามารถหาค่า a1 ได้ นั่นคือ a1 = 9 / 33 = 1/3
และ ลำดับเรขาคณิต คือ 1/3, 1, 3, 9 …