ปัจจุบัน รถไฟความเร็วสูงเป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายในทวีปยุโรป สำหรับประเทศในทวีปเอเซียที่มีรถไฟความเร็วสูงบริการประชาชนแล้ว คือ ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน และจีน
ประเทศที่ได้ชื่อว่ามีเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการสร้างรถไฟความเร็วสูงเป็นของตนเอง ได้แก่ ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส เยอรมัน เกาหลีและจีน
รถไฟที่ใช้ขน ส่งผู้โดยสารแยกเป็นกลุ่มใหญ่ๆได้ 3 กลุ่ม คือ รถไฟในเมือง (Urban rail) รถไฟระหว่างเมือง (Inter-city rail) และรถไฟความเร็วสูง (High speed rail) รถไฟทั้งสามประเภทนี้ทำหน้าที่ต่างกันและมีวัตถุประสงค์ในการออกแบบต่างกัน
รถไฟระหว่าง เมืองเป็นรถไฟแบบดั้งเดิมที่มีบริการหลายประเภทวิ่งร่วมทางกันโดยจอดให้ บริการตามชุมชนรายทางต่างกัน เช่น รถด่วนจะจอดเฉพาะชุมชนขนาดใหญ่ รถเร็วจอดเฉพาะชุมชนขนาดใหญ่และชุมชนขนาดรองลงมาเพื่อลดเวลาการเดินทาง ส่วนรถธรรมดาจอดให้บริการทุกชุมชนตามสถานีรายทาง ทางรถไฟนี้จะมีขบวนรถสินค้าเดินร่วมทางด้วยเพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์จากทาง รถไฟที่ลงทุนก่อสร้างขึ้น
รถไฟความเร็ว สูงเป็นรถไฟที่วิ่งบริการระหว่างชุมชนขนาดใหญ่มากตามรายทางซึ่งมีความต้อง การเดินทางที่เร็วกว่าการใช้รถไฟธรรมดา ความต้องการเดินทางนี้อาจสนองตอบได้โดยใช้เครื่องบิน แต่หากจำนวนผู้โดยสารที่เดินทางสูงมาก ก็คุ้มค่าที่จะลงทุนสร้างเป็นรถไฟความเร็วสูงแยกทางวิ่งออกไปจากทางรถไฟ ธรรมดา
แต่ก่อนจะเข้าเรื่องรถไฟแม็กเลฟ เรามาทำความรู้จักกับแม่เหล็กไฟฟ้ากันก่อน
ขอบคุณรูปภาพจาก www.freeimages.com
แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic)
แม่เหล็กไฟฟ้า ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเพื่อสร้างสนามแม่เหล็ก
อย่างที่เราทราบกันดีว่
แม่เหล็กไฟฟ้า เป็นแม่เหล็กที่เกิดขึ้นในล
“Maglev” คืออะไร?
Maglev ย่อมาจาก Magnetic Levitation คือ การใช้สนามแม่เหล็กมายกให้รถไฟลอยอยู่บนราง รวมทั้งใช้รถไฟฟ้าเหนี่ยวนำให้เป็นสนามแม่เหล็ก เพื่อเป็นตัวขับเคลื่อนและหยุดรถ
รถไฟแม็กเลฟ เป็นยานพาหนะที่ขับเคลื่อนด
การกำหนดความเร็วทั้งหมดทำโดยคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการไหลข
ทำไม Maglev ถึงลอยได้
ขอบคุณรูปภาพจาก nexusp4science.wordpress.com
การที่รถไฟแม็กเลฟสามารถลอยได้นั้นเกิดจากการลอยตัวของแม่เหล็
หลักการคือทำให้แม่เหล็กสองข้างสลับขั
ประเภทของรถไฟ Maglev
ขอบคุณรูปภาพจาก www.pngfuel.com
Electromagnetic Suspension (EMS) หรือ การลอยตัวด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า
รถไฟแบบ EMS ส่วนล่างของรถ จะยื่นงุ้มออกมาหุ้มรางเอาไว้ และใช้แม่เหล็กที่ติดอยู่กับรถ ดูดกับแม่เหล็กที่ติดอยู่กับราง โดยตัวรถจะลอยอยู่เหนือรางแค่ 1 เซนติเมตรเท่านั้น
EMS จะลอยอยู่ตลอด ถึงแม้จะจอดอยู่เฉยๆ เพราะระบบนี้ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ที่อยู่บนตัวรถไฟ ซึ่งถ้าใช้ไปเรื่อยๆโดยไม่อัดประจุเพิ่มก็จะลอยได้นานแค่ 1 ชั่วโมง แต่ตัวรถไฟออกแบบให้วิ่งไปด้วยอัดไฟไปด้วย จึงสามารถใช้ได้นานยิ่งขึ้น ซึ่งรถไฟแบบ EMS นี้ได้พัฒนาขึ้นในประเทศเยอรมั
Electrodynamic Suspension (EDS) หรือ การลอยตัวด้วยไฟฟ้าพลศาสตร์
รถไฟแบบ EDS เป็นระบบที่ใช้แม่เหล็กที่ทำจากสารตัวนำยิ่งยวด ซึ่งถ้าหากอุณภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิวิกฤติค่าหนึ่ง ตัวนำยิ่งยวดนี้จะนำไฟฟ้าได้โดยไร้ความต้านทานทางไฟฟ้า
ในขณะที่รถวิ่งเส้นแม่เหล็กจากขดลวดตัวนำยิ่งยวดจะไปเหนี่ยวนำขดลวดที่อยู่ 2 ข้างทางให้กลายเป็นแม่เหล็กชั่วคราว เกิดแรงผลักจากด้านล่างและแรงดึงขึ้นจากด้านบนทั้ง 2 ข้าง ซ้ายและขวา ทำให้ตัวรถไฟลอยได้ถึง 10 เซนติเมตรเหนือราง
-ขอบคุณแหล่งข้อมูล https://school.dek-d.com