ฟังก์ชันพหุนาม
ให้ P(x) ฟังก์ชันพหุนามดีกรี n เขียนได้ในรูป
P(x) = a0 + a1x + a2x2 + … + anxn
เรียก ai สำหรับ i = 1,2,3,…, n ว่าสัมประสิทธิ์ กรณีที่สัมประสิทธิ์นำ an = 1 เรียกพหุนามนี้ว่าพหุนามโมนิค ในหัวข้อนี้เราจะศึกษาเกี่ยวกับพหุนามโมนิค จากทฤษฎีมูลฐานของพีชคณิตเราจะพบว่า พหุนามดีกรี n นั้นจะประกอบด้วยรากจำนวน n รากในที่นี้แทนด้วย k1, k2, …, kn นั้นคือ
P(x) = (x – k1)(x – k2)…(x – kn)
ในกรณีที่รากเป็นจำนวนจริงเราจะได้ว่ากราฟพหุนามจะตัดแกน x จำนวน n ครั้งในกรณีที่ k1, k2,…, kn แตกต่างกันทั้งหมด แต่ในกรณีที่มีรากซ้ำเส้นกราฟจะตัดแกน x ที่ค่ารากเพียงครั้งเดียวซึ่งผู้เขียนจะยกตัวอย่างพหุนามกำลังสามประกอบตัวเพื่อความสะดวกจะพิจารณาพหุนามโมนิคที่มีค่ารากเป็นจำนวนเต็มซึ่งในกรณีที่รากเป็นจำนวนจำนวนจริงใด ๆ แนวคิดในการวิเคราะห์เป็นไปในทำนองเดียวกัน สมมติให้มีราก 3 รากประกอบด้วย k1, k2 และ k3 เราจะวิเคราะห์ประเภทกราฟจากการซ้ำของรากพหุนาม 3 กรณีคือ กรณีไม่มีรากซ้ำ {k1, k2, k3} , กรณีมีรากซ้ำ 1 ค่า { 2(k1), k2} , กรณีที่มีรากซ้ำกัน 3 ค่า {3(k1)}
หรือ
ฟังก์ชันพหุนามเป็นฟังก์ชั่นที่สามารถกำหนดโดยการประเมินพหุนาม อย่างแม่นยำยิ่งขึ้นฟังก์ชันfของอาร์กิวเมนต์หนึ่งจากโดเมนที่กำหนดคือฟังก์ชันพหุนามหากมีพหุนาม
- P(x) = anxn + an-1xn-1 + … + a2x2 + …a1x+ a0
ที่ประเมินเป็น P(x) สำหรับทุกxในโดเมนของฉ (ที่นี่, nเป็นจำนวนเต็มไม่เป็นลบและ0 , 1 , 2 , … , nมีค่าสัมประสิทธิ์คงที่) โดยทั่วไปเว้นแต่ระบุไว้ฟังก์ชั่นพหุนามมีความซับซ้อนสัมประสิทธิ์ข้อโต้แย้งและค่านิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งพหุนามซึ่งถูก จำกัด ให้มีสัมประสิทธิ์จริงกำหนดฟังก์ชันจากจำนวนเชิงซ้อนไปจนถึงจำนวนเชิงซ้อน หากโดเมนของฟังก์ชันนี้ถูก จำกัด ไว้ที่ค่าจริงฟังก์ชันที่ได้คือฟังก์ชันจริงที่แมปจริงกับค่าจริง
ตัวอย่างเช่นฟังก์ชันfกำหนดโดย
- P (x) = x3−x
เป็นฟังก์ชันพหุนามของตัวแปรเดียว ฟังก์ชันพหุนามของตัวแปรหลายตัวถูกกำหนดไว้ในทำนองเดียวกันโดยใช้พหุนามในมากกว่าหนึ่งไม่แน่นอนเช่นเดียวกับใน
ตามนิยามของฟังก์ชันพหุนามอาจมีนิพจน์ที่เห็นได้ชัดว่าไม่ใช่พหุนาม แต่ยังคงกำหนดฟังก์ชันพหุนาม ตัวอย่างคือนิพจน์ ซึ่งรับค่าเดียวกันกับพหุนาม ในช่วงเวลา ดังนั้นทั้งสองนิพจน์จึงกำหนดฟังก์ชันพหุนามเดียวกันในช่วงเวลานี้
ทุกฟังก์ชั่นพหุนามเป็นอย่างต่อเนื่อง , ราบรื่นและทั้งหมด
ตัวอย่างที่ พิจารณากราฟพหุนาม P(x) = (x-1)(x-1)(x+2) ในภาพที่ 21 พบว่าพหุนามมีรากแตกต่างกัน 2 ค่าและมีรากซ้ำ 1 ค่าคือ { -2, 2(1) } กราฟฟังก์ชันจึงตัดแกน x ที่จุด (-2,0) และ (1,0)
กราฟฟังก์ชัน P(x) = (x-1)(x-1)(x+2)
วิเคราะห์ค่าของฟังก์ชันตามโดเมนของฟังก์ชันจะพบว่าโดเมนถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
P1 = (-infinity,-2), P2 = (-2,1), P3 = (1,infinity) พบว่า
ค่า x ที่อยู่ในช่วงของ P1 จะทำให้ค่าฟังก์ชันเป็นลบ
ค่า x ที่อยู่ในช่วงของ P2 จะทำให้ค่าฟังก์ชันเป็นบวก
ค่า x ที่อยู่ในช่วงของ P3 จะทำให้ค่าฟังก์ชันเป็นบวก
จากการสังเกตตำแหน่งค่าราก x = -2 พบว่าค่าฟังก์ชันทางด้านซ้ายและทางด้านขวามีเครื่องหมายที่แตกต่างกันแต่ ณ ตำแหน่งของ x = 1 ซึ่งเป็นรากซ้ำกลับพบว่าค่าฟังก์ชันทางด้านซ้ายและทางด้านขวามีเครื่องหมายเหมือนกัน
สูตรที่ใช้ในการแยกตัวประกอบ
ผลต่างกำลังสอง
น2 – ล2= (น– ล)(น+ ล)
กำลังสองสมบูรณ์
(น + ล)2 = น2 + 2นล +ล2
(น – ล)2 = น2 – 2นล + ล2
ผลบวก–ผลต่างกำลังสาม
น3 + ล3 = (น+ ล)(น2 – นล + ล2)
น3 – ล3 = (น– ล)(น2 + นล + ล2)
กำลังสามสมบูรณ์
(น+ ล)3 = น3 + 3น2ล + 3นล2 + ล3
(น – ล)3= น3 – 3น2ล + 3นล2 – ล3
หน้ากลางหลัง(สูตรนี้ใช้เครื่องหมายด้วยนะอย่าลืม!)
(น + ก + ล)2=น2 + ก2 + ล2 + 2นก + 2นล + 2กล
-ขอบคุณข้อมูล https://www.scimath.org/