ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ-เปอร์เซ็นต์ไทล์ เดไซล์ ควอร์ไทล์
เปอร์เซนต์ไทล์ เดไซล์ ควอร์ไทล์ เป็นการวัดตำเเหน่งของข้อมูลชุดหนึ่งๆ เมื่อแบ่งคะแนนหรือข้อมูลทั้งหมดออกเป็น 100 ส่วน 10 ส่วน และ 4 ส่วน ตามลำลับ เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบข้อมูล
คะแนน |
ความถี่ |
10-19 |
2 |
20-29 |
8 |
30-39 |
9 |
40-49 |
1.4 |
50-59 |
8 |
60-69 |
6 |
70-79 |
3 |
|
N = 50 |
คะแนน |
ความถี่ |
ความถี่สะสม |
10-19 |
2 |
2 |
20-29 |
8 |
10 |
30-39 |
9 |
19 |
40-49 |
1.4 |
33 |
50-59 |
8 |
41 |
60-69 |
6 |
47 |
70-79 |
3 |
50 |
|
N = 50 |
|
คะแนน |
ความถี่ |
10-19 |
2 |
20-29 |
8 |
30-39 |
9 |
40-49 |
1.4 |
50-59 |
8 |
60-69 |
6 |
70-79 |
3 |
|
N = 50 |
คะแนน |
ความถี่ |
ความถี่สะสม |
10-19 |
2 |
2 |
20-29 |
8 |
10 |
30-39 |
9 |
19 |
40-49 |
1.4 |
33 |
50-59 |
8 |
41 |
60-69 |
6 |
47 |
70-79 |
3 |
50 |
|
N = 50 |
4.2 เดไซล์ (Decile Rank)
เดไซล์ (Decile Rank)
เดไซล์ หมายถึงตำแหน่งที่แสดงให้ทราบว่ามีจำนวนข้อมูลเท่าไรใน 10 ส่วนของจำนวนข้อมูลทั้งหมดที่มีค่าต่ำกว่าข้อมูลที่ตำแหน่งนั้น เช่น นักเรียนคนหนึ่งสอบวิชาภาษาไทยได้คะแนน 55 คะแนนและคะแนน 55 นี้ อยู่ในตำแหน่งเดไซล์ที่ 7(D7) หมายความว่า 7 ใน 10 ของนักศึกษากลุ่มนั้นได้คะแนนวิชาภาษาไทยต่ำกว่า 55 คะแนน และ 3 ในการ 10 ของนักศึกษากลุ่มนั้นได้คะแนนวิชาภาษาไทยสูงกว่า 55 คะแนน
เปรียบเทียบเดไซล์ และเปอร์เซ็นต์ไทล์ ดังนี้
D 1 = P 10
D 2 = P 20
… = …
D 10 = P 100
เปอร์เซนไทล์แบ่งข้อมูลออกเป็น 100 ส่วน แต่เดไซล์แบ่งเป็น 10 ส่วน ใช้ข้อมูลในตารางเดิมก็แล้วกัน จะหาเดไซล์ที่ 8 ได้จาก อันดับแรกก็หา
ตำแหน่งเดไซล์ก่อน คือ = (D x N) /10 = (8 x 280)/10 = 224 อยู่ในชั้น 61 – 70
ได้ D8 = 65.7 เพราะฉะนั้น เดไซล์ที่ 8 เท่ากับ 65.7 คะแนน
4.3 ควอร์ไทล์ (Quartile Rank)
ควอร์ไทล์ (Quartile Rank)
คุวอรํใทล์ หมายถึงตำแหน่งที่แสดงให้ทราบว่ามีจำนวนข้อมูลเท่าไรใน 4 ส่วนของจำนวนข้อมูลทั้งที่มีคำตากว่าข้อมูลที่ตำแหน่งนั้น เซ่น นักศึกษาคนหนึ่งสอบวิชาภาษาไทยได้ 72 คะแนนและคะแนน 72 นั้นอยู่ในตำแหน่งควอรไทลที่ 3 (Q s) หมายความว่า 3 ใน 4 ของศึกษากลุ่มนั้นได้คะแนนวิชาไม่ต่ำกว่า 72 คะแนน และ 1 ใน 4 ของนักศึกษากลุ่มนั้นได้คะแนนวิชาภาษาไทยสูงกว่า 72 คะแนน
เปรียบเทียบควอร์ไทล์ และเปอร์เซ็นตํไทล์ ดังนี้
Q l = P 25
Q 2 = P 50
Q 3 = P 75
Q 4 = P 100
ดังนั้น การคำนวณหาควอรไทล์จีงใช้วิธีเดียวกันกับการคำนวณหาเปอร์เซ็นต์ไทล์ ต่างกันที่การ แบ่งหมู่เท่านั้น คือ การคำนวณควอรไทล์ ต้องแบ่งหมู่ออกเป็น 4 ส่วน แต่เปอร์เซ็นต์ไทล์แบ่งหมู่ ออกเป็น 100 ส่วน
จงคำนวณหาคะแนนในตำแหน่ง Q 3 ซึ่งคะแนนของศึกษา 50 คน ดังนี้
คะแนน |
ความถี่ |
10-19 |
2 |
20-29 |
8 |
30-39 |
9 |
40-49 |
1.4 |
50-59 |
8 |
60-69 |
6 |
70-79 |
3 |
|
N = 50 |
วิธีทำ สร้างตารางแจกแจงความถี่สะสมคะแนนน้อยไปหาน้อยไปมากคะแนนมาก
คะแนน |
ความถี่ |
ความถี่สะสม |
10-19 |
2 |
2 |
20-29 |
8 |
10 |
30-39 |
9 |
19 |
40-49 |
1.4 |
33 |
50-59 |
8 |
41 |
60-69 |
6 |
47 |
70-79 |
3 |
50 |
|
N = 50 |
Q 3 ของข้อมูลชุดนี้อยู่ในตำแหน่งที่ (Q*N)/4
= (3*50)/4
= 37.5
ตำแหน่งที่ 37.5 อยู่ในชั้นมีคะแนนระหว่าง 50-59 ดังนั้น
F n = 37.5
L = 49.5
I = 10
F 1 = 33
F2 = 41
จากสูตร Q r = L+I{(F n-F 1)/(F 2-F 1)}
Q 3 = 49.5+10{(37.5-33)/(41-33)}
= 49.5+10{(4.5)/(8)}
= 49.5+5.625
= 55.125
ดังนั้น คะแนนที่ตำแหน่งชุดนี้ คือ 55.125
สรุป
ตำแหน่งของ ควอร์ไทล์ เดไซล์ และ เปอร์เซ็นต์ไทล์
กรณีข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่
ถ้าข้อมูลมีจำนวนทั้งหมด N แล้ว
หมายเหตุ** ถ้าข้อมูลมีจำนวน N น้อย ไม่นิยมหาค่า เปอร์เซ็นต์ไทล์
กรณีข้อมูลที่แจกแจงความถี่
ถ้าข้อมูลมีจำนวนทั้งหมด N แล้ว
หลังจากที่หาตำแหน่งได้ ต่อไปก็เป็นการหาค่าของแต่ละอย่าง ซึ่งทำได้ 2 วิธี คือ
1. โดยการคำนวณ
2. โดยการใช้กราฟ
การคำนวณ
กรณีที่ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ หลังจากที่ทราบตำแหน่ง และ เรียงข้อมูลแล้ว เราก็จะรู้ว่าค่าที่ต้องการอยู่ตำแหน่งอะไร เช่น ข้อมูลชุดหนึ่งมีดังนี้ 2,6,18,25,32,64
ตัวที่ 2.75 ซึ่งก็คืออยู่ระหว่างตัวที่ 2 และ 3 หรือค่า 6 กับ 18 นั่นเอง
ตัวที่ 3.5 ซึ่งก็คืออยู่ระหว่างตัวที่ 3 และ 4 หรือค่าที่ 18 กับ 25 นั่นเอง
ตัวที่ 5.25 ซึ่งก็คืออยู่ระหว่างตัวที่ 5 และ 6 หรือค่า 32 กับ 64 นั่นเอง
จากนั้นให้ทำการเทียบ ว่าตำแหน่งห่างกันเท่าไร แล้วค่าจะห่างกันเท่าไร เช่น ถ้าต้องการหา Q1 จะได้ว่า จากข้อมูลจริง ตัวที่ 2 และ 3 ซึ่งห่างกัน 1 ตำแหน่ง แล้วค่าของข้อมูลตางกัน 18 – 6 =12 แต่ต้องการตัวที่ 2.75 ดังนี้ ตัวที่ 2 และ 2.75 ซึ่งห่างกัน 0.75 ตำแหน่ง แล้วค่าของข้อมูลต่างกัน
ดังนั้น ตัวที่ 2.75 มีค่าเท่ากับ 6 + 9 = 15 (เทียบจากตัวที่ 2 นั่นเอง) หรือ Q1= 15
กรณีที่ข้อมูลแจกแจงความถี่แล้ว แต่ยังไม่เขียนเป็นอันตรภาคชั้น ยังคงเทียบเหมือนแบบแรก
กรณีที่ข้อมูลแจกแจงความถี่และเขียนเป็นอันตรภาคชั้น
– ค่าขอบบนของอันตรภาคชั้นนั้นจะ คือร้อยละของความถี่สะสมสัมพัทธ์ของ อันตรภาคชั้นนั้น
เช่น ถ้า อันตรภาค ร้อยละของความถี่สะสมสัมพัทธ์
65 – 69 35
70 – 74 56
จะได้ว่า P35 = 69.5 และ P56 = 74.5 เป็นต้น
– ใช้สูตร
โดยที่ L คือ ขอบล่างของชั้นที่ Qr ตกอยู่
คือ ผลรวมของความถี่ของชั้นที่ต่ำกว่าชั้นที่ Qr อยู่
คือ ผลรวมของความถี่ของชั้นที่ต่ำกว่าชั้นที่ Qr อยู่ + ความถี่ของชั้นที่ Qr อยู่
คือ ความถี่ของชั้นที่ Qr อยู่
I คือ ความกว้างของอันตรภาคชั้น ซึ่งต้องเท่ากันทุกชั้น
กรณีสูตรอื่นๆ ก็เหมือนกัน เพียงแต่เปลี่ยนตำแหน่งจาก เป็นอื่นๆ ตามแบบของมัน
โดยการใช้กราฟ
1. เขียนโค้งความถี่สะสมหรือโอจีฟ
2. หาตำแหน่งของควอไทล์ เดไซล์ หรือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ต้องการหา
3. ลากจากแกนตั้ง ซึ่งเป็นแกนของความถี่สะสม ซึ่งตรงกับตำแหน่งที่ต้องการทราบมาตัดกับโค้งโอจีฟ แล้วโปรเจ็คลงมาบนแกนนอน ซึ่งเป็นแกนของข้อมูล ก็จะทราบค่านั้น
หมายเหตุ** กรณีที่ข้อมูลเป็นอันตรภาคชั้นค่าในแต่ชั้นจะถูกครอบคลุมด้วยค่าของขอบบนกับขอบล่าง เช่น 20 – 29, 30 – 39 หมายความว่า ค่าจริงๆอยู่ระหว่าง 19.5 และ29.5 – 39.5 เป็นต้น