การนำเสนอข้อมูล
เมื่อทำการเก็บรงบรวมข้อมูลได้แล้วขั้นตอนต่อไปคือ การนำข้อมูลที่รวบรวมไว้นำเสนอ หรือแสดงให้ผู้อื่นทราบและเข้าใจ ซึ่งการนำเสนอข้อมูลสามารถทำได้ในหลายรูปแบบด้วยกันขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลนั้นๆ ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จำเป็นต้องนำไปวิเคราะห์ทางสถิติสามารถนำเสนอข้อมูลอย่างง่ายๆ ซึ่งจะทำให้น่าสนใจมากขึ้น
6.1 การนำเสนอข้อมูลโดยบทความ (Text Presentaion)
การนำเสนอข้อมูลโดยบทความ (Text Presentaion)
การนำเสนอข้อมูลโดยบทความ มีรูปแบบการนำเสนอเป็นบทความสั้นๆและมีข้อมูลตัวอยู่ด้วย ทำให้อ่านเข้าใจง่าย นิยมเสนองานทางวิทยุ โทรทัศน์ หรืออาจเป็นบทความสั้นๆและมีข้อเลขอยู่ด้วย ทำให้อ่านเข้าใจง่าย นิยมนำเสนอทางวิทยุ โทรทัศน์หรืออาจเป็นบทความในหนังสือพิมพ์ วารสารและรายงานต่างๆดังต่อไปนี้ตัวอย่าง 1 “ปี พ.ศ. 2548 มีจำนวนผู้จบการระดับปริญญาตรีจากมหาลัยของรัฐประมาณ 130,000 คน ซึ่งคาดว่าในปีการศึกษา 2549 เพิ่มขึ้นเป็น 150,000”
ตัวอย่าง 2 “ในปี พ.ศ.2549 ชาวสวนลำไย จังหวัดเชียงใหม่ สามารถส่งลำไยออกออกสู่ตลาดเป็นจำนวนเงิน 10 ล้านบาท ซึ่งล้านบาท ซึ่งมากว่าปี 2548 จำนวน 2.5 ล้านบาท
6.2 การนำเสนอโดยบทความกึ่งตาราง(Semi- Tabular Presetaion)
การนำเสนอโดยบทความกึ่งตาราง(Semi- Tabular Presetaion)
เป็นการนำข้อมูลโดยแยกตัวเลขออกจากข้อความ หรือการนำเสนอบทความแต่มีการตั้งแนวตัวเลขขึ้นในบทความ เพื่อให้เห็นตัวเลขชัดเจนและมีการเปรียบเทียบเพื่อความสะดวกในการเข้าใจดังนี้อย่างต่อไปนี้
ภูมิลำเนาของนักศึกษาวิทยาลัยแห่งหนึ่งระหว่างปี 2546-2549
จำนวน(คน) | ||||
ภูมิลำเนา | 2,546 | 2,547 | 2,548 | 2,549 |
กรุงเทพมหานคร | 2,540 | 2,590 | 2,556 | 2,618 |
ภาคเหนือ | 350 | 244 | 310 | 287 |
ภาคกลาง | 825 | 1,300 | 1,310 | 1,544 |
ภาคใต้ | 408 | 325 | 368 | 387 |
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | 520 | 458 | 488 | 481 |
รวม | 4,643 | 4,917 | 5,032 | 5,317 |
6.3 การนำเสนอโดยตาราง (Tabular Presentation)
การนำเสนอโดยตาราง (Tabular Presentation)
เป็นการนำเสนอข้อมูลให้เป็นระเบียบ รูปแบบของตารางขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการนำเสนอข้อมูล
ส่วนประกอบของตารางสถิติที่ควรมี
1) หมายถึงเลขตาราง(table number)
2) ชื่อเรื่อง(tile)
3) หมายเหตุควรมีต่อท้ายให้ทราบแหล่งที่มาจ้อมูล พร้อมทั้งอธิบายให้ทราบว่าข้อมูลในตารางมาจากไหน เป็นข้อมูลประเภทใด เพื่อทำให้เข้าใจดียิ่งขึ้น
4) หัวเรื่อง เป็นส่วนประกอบของหัวขั้ว เพื่อให้ได้ความสมบูรณ์จึ้นหรือเป็นตำอธิบายตัวเลขในแนวนอน
5) ต้นขั้วประกอบด้วย หัวขั้วแลพต้นขั้ว หัวขั้วเป็นคำอฑิบายเกี่ยวกัยตัวเลจในแนวตั้งอาจมีหลายขั้ว
6) ตัวเรื่องประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นตัวเลข
สถิติปิมาณการขายสินค่าเครื่องใช้ไฟฟ้าของบริษัทแห่งหึ่ง ปี 2541-2548 มูลค่า : ล้านบาท
ปี | โทรทัศน์ | วิทยุ | เครื่องเล่นวีซีดี |
2541 | 30.15 | 5.05 | 10.60 |
2542 | 31.05 | 5.10 | 10.46 |
2543 | 32.67 | 6.10 | 13.80 |
2544 | 36.75 | 6.80 | 15.75 |
2545 | 38.42 | 7.05 | 16.05 |
2546 | 40.85 | 7.50 | 17.77 |
2547 | 42.55 | 7.90 | 18.35 |
2548 | 45.25 | 8.30 | 20.50 |
รวม | 298.69 | 52.80 | 123.28 |
6.4 การนำเสนอโดยกราฟหรือแผนภูมิ ( graphiacl presentaion)
การนำเสนอโดยกราฟหรือแผนภูมิ ( graphiacl presentaion)
เมื่อได้จัดข้อมูลที่จะนำเสนอแล้ว เราอาจจะพิจารณาใรการนำเสนอข้อมูลด้วยกราฟหรือแผนภูมิซึ่งเป็นวิธีที่ใช้ๆด้ดี เพาะรูปภาพที่แสดวข้อมูลจะทำให้เกิดความสนใจ ทำให้อ่านเจ้าใจได้ง่ายและรวดเร็สกว่าวิธีอื่นๆ การนำเสนอด้วยกราฟหรือแผยภูมืมีหลายลักษณะ ดังนี้
1)แผนภูมิแท่งหรือกราฟแท่ง(bar chart)
2)กราฟเส้น (line graph)
3)แผนภูมิวงกลม (poe chart)
4) แผนภูมิภาพ(pictogram)
การนำเสนอโดยแผนภูมิแท่งหรือกราฟแท่ง(bar chart )
เป็นแผนกภูมืที่ประกอบด้วยรูปสัฝี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีความยาวของแต่ละรูปเป็นขนานของข้อมูล มีช่องว่างรัหว่างแท่ง แต่ละแท่งมีความหว้าวคงที่ ใช้ในการการเปรียบเทียบรายการข้อมูลมี่แตกต่างกันหลายรายการ หรือจ้อมูลทีืจำแนกตาใฃักศณะคุณภาพ เวลา หรือความถี่ซึ่งผู้คนเข้าใจง่ายด้วยตนเอง
การนำเสนอโดยกราฟเส้น(line graph)
การนำเสนอโดยกราฟเส้นเป็นที่นิยมใช้กันมากใช้กับข้อมูลอนุกรมซึ่งแสดงการเปลื่ยนแปลงลำดับก่อนหลังของเวลาที่ข้อมูลนั้นเกิดและมีจำนวนมากเป็นการสร้างที่ง่ายอาจเป็นเส้นตรงหรือเส้นโค้งก็ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะข้อมูลที่อยู่ใช้เปรียบเทียบระหว่างหลายรายการในระยะยาว
ตัวอย่าง กราฟเส้นแสดงข้อมูล
เป็นการนำเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้ในรูปวงกลมโดยมีการแบ่างพื้นภายในวงกลมออกเป็นส่วนๆ ในการเปรียบเทียบซึ่งมีหลายลักษณะของกลุ่มประชาชนกร การสร้างแผนภูมิวงกลมมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
1) แผนภูมิวงกลมจะแสดงถึงร้อยละของจำนวนค่าที่สังเกตซึ่งเท่ากับค่าสังเกตในแต่ละชั้น เมื่อเทียบกับข้อมูล
2) พื้นที่วงกลมทั้งหมดเป็น 100 ส่วนเท่ากับ 360 หรือ 360 เท่ากับ 100เปอร์เซนต์(1เปอร์เซนต์ กับ 3.6)
3) แบ่งพื้นที่วงกลมตามค่าร้อยละที่คำนวณได้ โดยเรียงจากมากไปน้อย
4) ทำให้เห็นข้อแตกต่างในแต่ละส่วนเพื่แความสะดวกในการเปรียบเทียบ
ตัวอย่าง ในการสำรวจของอาชีพผู้ปกครองของนักศึกษา 3000 คน จำแนกเป็นทำธุรกิจส่วนตัว รัฐวิสาหกิจ รับราชการ บริษัทเอกชน อื่นๆ ดังนี้
อาชีพผู้ปกครอง |
จำนวน |
ธุรกิจส่วน |
40 |
รัฐวิสาหกิจ |
30 |
รับราชการ |
60 |
บริษัทเอกชน |
160 |
อื่นๆ |
10 |
รวม |
300 |
วิธีทำ 1. หาค่าร้อยละของความถี่แต่ละอาชีพ
อาชีพผู้ปกครอง |
จำนวน |
ร้อยละ |
องศา |
ธุรกิจส่วนตัว |
45 |
15 |
54 |
รัฐวิสาหกิจ |
30 |
10 |
36 |
รับราชการ |
60 |
20 |
72 |
บริษัทเอกชน |
150 |
50 |
180 |
อื่นๆ |
15 |
5 |
18 |
300 |
100 |
360 |
2. สร้างกลม และแบ่งเป็นส่วนๆ โดยให้ 1 เปอณ์เซนต์ เท่ากับ 3.6
การนำเสนอโดยแผนกภูมิภาพ(pictogram)
เป็นแผนภูมิที่ใช้รูปภาพแทนค่าตัวเลขจะนวนหนึ่งของข้อมูลที่นำเสนอ เช่นภาพรถยนต์ 1 คันแทนจำนวนรถสามารถที่ นำ เสนอ 1000 คน หรือภาพคน 1 ภาพแทนประชากรที่นำเสนอ 100 คน ซึ่งรูปภาพนั้ยจะแทยของจริงจำนวนเท่าไรก็ได้ แล้วแต่ปรริมาณมากน้อยของข้อมูลที่นำเสนอจะให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่าย อปลความหมายได้ทันทีและน่าสนใจมากขึ้น
ตัวอย่างที่ 9 ปริมาณนักศึกษาที่รับสมัครสอบเข้ามหาลัยวิทยาลัย ปี 2545-2549 แสดงปริมาณข้อมูลโดยแผนภูมิภาพ