เรียนเลขเรื่องลำดับและอนุกรม ม.5
อนุกรม คือ อะไร
อนุกรม ผลจากการบวกสมาชิกทุกตัวของลำดับไม่จำกัดเข้าด้วยกัน หากกำหนดให้ลำดับของจำนวนเป็น
อนุกรมของลำดับนี้ก็คือ อนุกรมสามารถเขียนแทนได้ด้วย
สัญลักษณ์ของผลรวม ∑ (ซิกม่า)
ลำดับ คือ อะไร
ลำดับ คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก n ตัวแรกหรือเซตของจำนวนเต็มบวก เรียกลำดับที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก n ตัวแรกว่า ลำดับจำกัดและเรียกลำดับที่มีโดเมนของจำนวนเต็มบวกว่า ลำดับอนันต์
ลําดับและอนุกรม มีอะไรบ้าง
ลำดับจำกัด
ลำดับอนันต์
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับพหุนาม
ลำดับหลายชั้น
ลำดับเว้นระยะ
ลำดับแบบมีค่าแตกต่างกันเป็นชุด
ลำดับกำลัง
ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
เป็นลำดับที่มีจำนวนพจน์อยู่ พจน์
1,2,4,…,1024
เป็นลำดับที่มีจำนวนพจน์อยู่ พจน์
2 ลำดับอนันต์ (infinite sequences) หมายถึง ลำดับที่มีจำนวนพจน์อยู่ไม่จำกัด เช่น
1.1,1.01,1.001,1.0001,…, ,…
3 พิจารณาลำดับ
1.1,1.01,1.001,1.0001,…, ,…
เมื่อ n มีค่ามากขึ้นมากๆ หรือใช้สัญกรณ์ว่า
( เราเรียก ว่า n tends to infinity
หรือ n มีค่าเป็นอนันต์)
4 โดยส่วนใหญ่จะใช้สัญกรณ์
( เราเรียกว่า limit n tends to infinity of an
หรือ ลิมิต n เข้าสู่อนันต์ของ an)
แทน
5 ถ้า
แล้ว
มีค่าใกล้เคียงหรือเท่ากับค่า
เราจะกล่าวว่าลำดับ ลู่เข้าสู่ค่า A เมื่อ n มีค่าเป็นอนันต์
converges to A as n tends to infinity.
ถ้า
แล้ว
ไม่มีค่าใกล้เคียงค่าใดเฉพาะ
เราจะกล่าวว่าลำดับ ลู่ออก
diverges as n tends to infinity.
ความสัมพันธ์เวียนเกิด
ลำดับจำกัด คือ
ลำดับจำกัด คือ ลำดับซึ่งมีจำนวนพจน์จำกัด โดยฟังก์ชันจะเป็นลำดับที่มีโดเมนเป็น { 1, 2, 3, …, n } สามารถบอกได้ว่าลำดับนั้นมีพจน์ทั้งหมดกี่พจน์ได้อย่างแน่นอน
ตัวอย่างเช่น 2, 4, 6, 8, … , 36 (สามารถบอกจำนวนพจน์ได้แน่นอน)
ลำดับอนันต์ คือ
ลำดับอนันต์ คือ ลำดับซึ่งมีจำนวนพจน์ไม่จำกัด โดยฟังก์ชันเป็นลำดับที่มีโดเมนเป็น { 1, 2, 3, … } ไม่สามารถบอกได้อย่างแน่ชัดว่าลำดับนั้นมีจำนวนพจน์กี่พจน์
ตัวอย่างเช่น 2, 4, 6, 8 , ….
(ไม่สามารถบอกจำนวนพจน์ได้แน่นอน)
ลำดับเลขคณิต คือ
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic Sequence) คือ ลำดับของตัวเลขที่ผลต่างซึ่งได้จากพจน์สองพจน์ที่อยู่ติดกัน มีค่าคงตัวเป็นค่าเดียวกัน โดยเราเรียกค่าคงตัวนั้นว่า ผลต่างร่วม (Common Difference) เขียนแทนด้วย d
ตัวอย่างเช่น -2 , -4, -6, … , -8
ซึ่งมีผลต่างร่วม d = -2
ลำดับเรขาคณิต คือ
ลำดับเรขาคณิต คือ ลำดับของจำนวนซึ่งอัตราส่วนของสมาชิกสองตัวที่อยู่ติดกันในลำดับเป็นค่าคงตัวที่ไม่เป็นศูนย์ ซึ่งอัตราส่วนนั้นเรียกว่า อัตราส่วนร่วม (common ratio)
ตัวอย่างเช่น ลำดับ 2, 6, 18, 54
มีอัตราส่วนร่วม คือ r = 3 เป็นต้น
ลำดับพหุนาม คือ
ลำดับพหุนาม คือ ลำดับที่สามารถเขียนพจนทั่วไปได้เป็นฟังก์ชันพหุนาม
อนุกรมเลขคณิต( Arithmetic Series )
ลำดับ คือ กลุ่มของตัวเลขที่มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ
- ลำดับเลขคณิต
- ลำดับเรขาคณิต
ซึ่งลำดับเลขคณิตเป็นลำดับที่เกิดจากการบวก แต่ลำดับเรขาคณิตเป็นลำดับที่เกิดจากการคูณ
- ลำดับเลขคณิต คือ ลำดับที่มีผลต่างของพจน์ที่ n+1 กับพจน์ที่ n โดยมีค่าคงที่เป็นผลต่างร่วม (d)
ตัวอย่าง
1, 3, 5, 7, 9 …. มี d = 2
9, 6, 3, 0, …. มี d = -3
- ลำดับเรขาคณิต คือ ลำดับที่มีอัตราส่วนของพจน์ที่ n+1 กับพจน์ที่ n โดยมีค่าคงที่เป็นอัตราส่วนร่วม (r)
ตัวอย่าง
3, 6, 12, 24 …. มี r = 2
2, -4, 8, -16 … มี r = -2
- วิธีการหา a ที่พจน์ใดๆ
- ลำดับเลขคณิต : an=a1+(n-1)d
- ลำดับเรขาคณิต : an=a1rn-1
ให้ sn เป็นผลบวก n พจน์แรกของลำดับเลขคณิต ดังนั้น sn = a1 + a2 + a3 + ... + an สูตรผลบวก n พจน์แรกของลำดับเลขคณิต
ตัวอย่าง
จงหาผลบวกของ 1 + 2 + 3 + … 200
อนุกรมเรขาคณิต ( Geometric Series )
ให้ sn เป็นผลบวก n พจน์แรกของลำดับเลขคณิต ดังนั้น sn = a1 + a2 + a3 + ... + an สูตรผลบวก n พจน์แรกของลำดับเลขคณิต