ลอการิทึม (logarithm) คือ
บทนิยาม
ถ้า a > 0 และ a ไม่เท่ากับ 1 เรียกฟังก์ชัน {(x,y) I x = ay} ว่าฟังก์ชันลอการิทึม
นิยมเขียน y = loga x แทน x = ay
“ loga x” อ่านว่า ล็อกเอกซ์ฐานเอ
ดังนั้นอาจเขียนแทนฟังก์ชันลอการิทึมด้วย
y = loga x , a > 0 , a ไม่เท่ากับ 1
แก้สมการลอการิทึม
1.loga x = loga y → x = y (ฐานเท่า → หลัง log เท่า)
2.loga x = logb x → x = 1(ฐานไม่เท่า, หลัง log เท่า → loga 1= 0)
3.ฐานไม่เท่า, หลัง log ไม่เท่า → วาดกราฟ
4.ตรวจคำตอบทุกครั้ง หลัง log > 0
ฐาน log > 0, ไม่เท่ากับ 1
logarithm คือฟังก์ชันที่อยู่ในรูป {(x, y) ∈ : } โดยที่ a เป็นจำนวนจริงที่มากกว่า 0 และ a ≠ 1
ตัวอย่าง
x = 5y จัดรูปเป็น y = log5 xอ่านว่า ล็อก x ฐาน 5
การแก้สมการเอกซ์โพเนนเชียล
วิธีการ คือ
กําหนดให้ a > 0 , a ≠ 1 และ b > 0 , b ≠ 1
- . a∆ = a◌ ก็ต่อเมื่อ ∆ = ◌ (พยายามทําฐานให้เหมือนกัน)
- ถ้า a∆ = b◌ และ a ≠ b แล้ว ∆ = ◌ = 0 เท่านั้น
ข้อควรรู้ : คําตอบที่ได้จากการแก้สมการ ไม่ต้องนํามาตรวจสอบคําตอบ ยกเว้นในกรณีมีการยกกําลังจํานวนคู่ จะต้องตรวจสอบคําตอบด้วย
การแก้อสมการเอกซ์โพเนนเชียล
1. ถ้า 0 < a < 1 (ฟังก์ชันลด) แล้ว
สังเกตได้ว่า : สําหรับ 0 < a < 1 เมื่อปลดฐานหรือเติมฐาน เปลี่ยนเครื่องหมายอสมการ
- ax > ay ก็ต่อเมื่อ x < y
- ax < ay ก็ต่อเมื่อ x > y
2. ถ้า a > 1 (ฟังก์ชันเพิ่ม) แล้ว
- ax > ay ก็ต่อเมื่อ x > y
- ax < ay ก็ต่อเมื่อ x < y
จุดสังเกต : สําหรับ a > 1 เมื่อปลดฐาน หรือเติมฐาน คงเดิมเครื่องหมายอสมการ
ขอบคุณข้อมูล https://www.athometh.com/