ลำดับเรขาคณิต (Geometric Sequences)
นิยาม ลำดับเรขาคณิต (Geometric Sequences) คือ ลำดับที่มีอัตราส่วนระหว่างสองพจน์ใด ๆ ที่อยู่ติดกันมีค่าเท่ากัน ตลอด หรือ ลำดับที่เปลี่ยนแปลงไปทีละเท่าตัว (จะกี่เท่าก็ได้ครับ)
นิยาม ลำดับเรขาคณิต คือ ลำดับที่มีอัตราส่วนร่วม [Common ratio ตัวย่อ r] ระหว่างพจน์ที่ n+1 [an+1] กับพจน์ที่ n [an]
มีค่าคงที่ สำหรับทุกๆ จำนวนเต็มบวก n
อัตราส่วนร่วม (Common Ratio) คือ อัตราส่วนที่เกิดจากพจน์หลังหารด้วยพจน์หน้าที่อยู่ติดกัน
ของลำดับเรขาคณิต ซึ่งเป็นค่าที่บอกให้รู้ว่าลำดับเรขาคณิตนั้นเปลี่ยนแปลงไปทีละกี่เท่า เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ r
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของแต่ละพจน์ จากพจน์หน้าไปเป็นพจน์หลังที่อยู่ติดกัน พจน์ที่อยู่ในตำแหน่งหลัง
จะเกิดจากการ คูณพจน์ข้างหน้าที่อยู่ติดกันด้วยค่า r เป็นเช่นนี้ตลอดทั้งลำดับ
ลำดับเรขาคณิต (Geometric Sequences) คือ ลำดับที่มีอัตราส่วนระหว่างสองพจน์ใด ๆ ที่อยู่ติดกัน มีค่าเท่ากัน ตลอด หรือ ลำดับที่เปลี่ยนแปลงไปทีละเท่าตัว (จะกี่เท่าก็ได้)
อัตราส่วนร่วม (Common Ratio) คือ อัตราส่วนที่เกิดจากพจน์หลังหารด้วยพจน์หน้าที่อยู่ติดกัน ของลำดับเรขาคณิต ซึ่งเป็นค่าที่บอกให้รู้ว่าลำดับเรขาคณิตนั้นเปลี่ยนแปลงไปทีละกี่เท่า เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ r
การหาพจน์ใด ๆ ของลำดับเรขาคณิต
การหาพจน์ใด ๆ ของลำดับเรขาคณิต หัวใจสำคัญคือ จะต้องทราบ
1.อัตราส่วนร่วม (r)
2.พจน์ใดพจน์หนึ่งอย่างน้อย 1 พจน์ (ในกรณีที่มีหลายพจน์ ให้เลือกที่อยู่ตำแหน่งใกล้กับพจน์ที่ต้องการหามากที่สุด)
3.ความสัมพันธ์ระหว่างพจน์ที่ต้องการหากับพจน์ใดพจน์หนึ่งที่ทราบค่า ซึ่งจะอยู่ในรูปของสูตร
ลำดับเรขาคณิต [Geometric Sequence Geometric Progression] ตัวย่อ G.S. หรือ G.P.
นั้นคือ r = an+1 , r ¹ 0, n ÎI+
รูปทั่วไปของลำดับเรขาคณิต คือ a1 , a2 , a3 , … , a1rn-1 , …
พจน์ทั่วไปของลำดับเรขาคณิต คือ an = a1rn-1
เช่น 1) 1 , 3 , 32 , … , 3n-1 , …
ตัวอย่าง 1 จงหาพจน์ที่ 6 ของลำดับเรขาคณิต 1 , 2 , 4 , 8 , …
วิธีทำ
จากโจทย์ a1 = 1 , r =
เพราะว่า an = a1rn – 1
a6 = (1)(2)6 – 1 = 32
ตัวอย่าง 2 ลำดับเรขาคณิตมี a1 = และ a4 = จงหา r
วิธีทำ an = a1rn – 1
a4 = a1r3
ตัวอย่าง 3 ลำดับเรขาคณิตมี a3 = 12, r = -2 และ an = 768 จงหา n
วิธีทำ an = a1rn – 1
768 = a1(-2)n – 1 ……….(1)
a3 = a1r2
12 = a1(-2)2
a1 = 3
แทนค่า a1 = 3 ใน (1) 768 = 3(-2)n – 1
256 = (-2)n – 1
(-2)8 = (-2)n – 1
n-1 = 8
n = 9
ตัวอย่าง 4 กำหนดลำดับเรขาคณิตซึ่งมีพจน์ที่ 4 เท่ากับ -24 และพจน์ที่ 9 เท่ากับ 768 จงหาพจน์ที่ n
วิธีทำ a4 = -24 ® a1r3 = -24 ……….(1)
a9 = 768 ® a1r8 = 768 ……….(2)
(2) ¸(1) r5 = -32 = (-2)5
r = -2
แทนค่า r = -2 ใน (1) a1 = 3
เพราะฉะนั้น an = 3(-2)n – 1
ตัวอย่าง 5 ลำดับเรขาคณิต (a1)(a2)(a3) = 64 และ a1 = 12 จงหาลำดับเรขาคณิตนี้
วิธีทำ (a1)(a2)(a3) = 64
(a1)(a1r)(a1r2) = 64
(a1)3( r3) = 64
(a1r)3 = (4)3
a1r = 4
(12)r = 4
r =
เพราะฉะนั้น ลำดับเรขาคณิต คือ 12 , 4 , , …
ข้อสังเกต โดยปกติ : พจน์ทั่วไปของลำดับเรขาคณิตจำกัดในรูปของ a1 และ r คือ
a1 , a1r , a1r2 , … , a1rn – 1
1. ในกรณีที่ทราบว่า ลำดับเรขาคณิตจำกัดชุดหนึ่งมีจำนวนพจน์เป็นเลขคี่ควรจะสมมติพจน์ทั่วไปดังนี้คือ
… , a , a , a , ar , ar2 , …
[ โดยเริ่มจากตรงกลางคือ a แล้วขยายไปทั้งด้านซ้ายและด้านขวาที่ละ r ]
2. ในกรณีที่ทราบว่า ลำดับเรขาคณิตจำกัดชุดหนึ่งมีจำนวนพจน์เป็นเลขคู่ควรจะสมมติพจน์ทั่วไปดังนี้คือ
… , a , a , ar , ar3 , …
พจน์กลางเรขาคณิตหนึ่งพจน์ระหว่าง a และ b [Geometric Mean] ตัวย่อ G.M.
G.M. = ±Öab
หรือ G2 = ab
ตัวอย่าง 7 จงหา G.M. 1 พจน์ระหว่าง 8 และ 18
วิธีทำ
จากสูตร
G2 = ab
= (8)(18) = 144
G =
G = ±12
ตัวอย่าง 8 จงหาพจน์กลางเรขาคณิต 4 พจน์ระหว่าง 3 และ 96
วิธีทำ
a1 = 3 , a6 = 96
a6 = a1r5
96 = (3)r5
r5 = 32 = (2)5
r = 2
เพราะฉะนั้น พจน์กลาง 4 พจน์ระหว่าง 3 และ 96 คือ 6 , 12 , 24 , 48
ตัวอย่าง 9 จงหา G.M. 3 พจน์ระหว่าง และ
วิธีทำ a1 = และ a5 =
a5 = a1r4
เพราะฉะนั้น พจน์กลาง 3 พจน์เมื่อ r = คือ
r = – คือ
ตัวอย่าง 10 จงหาจำนวนจริงบวก 2 จำนวน ซึ่ง A.M. 1 พจน์เท่ากับ 25 และ G.M. 1 พจน์เท่ากับ 24
วิธีทำ ให้เลข 2 จำนวนนั้น คือ a และ b
จาก (1)
a = 50 – b
แทน a = 50 – b ใน (2)
( 50 – b )( b ) = 576
b2 – 50b + 576 = 0
( b – 18 )( b – 32 ) = 0
b = 18 , 32
a = 32 , 18
เพราะฉะนั้น เลข 2 จำนวนนั้น คือ 32 กับ 18
ความสัมพันธ์ระหว่าง A.M, H.M. และ G.M. 1 พจน์
G2 = A.M. x H.M.
ตัวอย่าง 11 ถ้า A.M. และ G.M. ระหว่างเลขสองจำนวนจริงบวกเป็น 5 และ 4 แล้ว H.M.1 พจน์ระหว่าง
เลขสองจำนวนนี้เป็นเท่าไร
วิธีทำ
จากสูตร
G2 = A.M. x H.M.
42 = 5 x H.M