แคลคูลัส เรื่องนี้นั้นส่วนใหญ่แล้ว น้องๆทุกคนจะได้เรียนเป็นเรื่องสุดท้ายของระดับชั้น ม.ปลาย โดยเนื้อหานั้นจะเป็นพื้นฐานที่จะไปใช้ต่อในระดับมหาวิทยาลัย และบางทีโรงเรียนอาจจะสอนไม่ทัน เพราะต้องใช้สอบก่อน ความยากของเรื่องนี้นั้นอยู่ที่ความเข้าใจในนิยามต่างๆ ซึ่งถ้าน้องๆเข้าใจนิยามจะสามารถทำโจทย์ได้มากขึ้น
หัวข้อเนื้อหาในเรื่องแคลคูลัส นั้นประกอบไปด้วย เรื่อง ลิมิตของฟังก์ชัน ลิมิตอนันต์ ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์(Four Step Rules, การใช้สูตร, กฎลูกโซ่, อนุพันธ์แฝง อนุพันธ์อันดับสูง, อิงตัวแปรเสริม) การประยุกต์อนุพันธ์ ค่าสูงสุดต่ำสุด อินทิเกรต พื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง รวมไปถึง อนุพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณและอินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณแคลคูลัส
แคลคูลัส ลิมิตของฟังก์ชัน#1
เป็นการอธิบายถึงการหาค่าลิมิตของฟังก์ชัน พร้อมตัวอย่างแบบต่างๆ โดยละเอียด
แคลคูลัสลิมิตของฟังก์ชัน#2
เป็นการอธิบายทฤษฎีของลิมิต ซึ่งประกอบไปด้วยนิยามในการหาค่าลิมิตแบบต่างๆ พร้อมทั้งแบบฝึกหัดโดยละเอียด
แคลคูลัสลิมิตอนันต์
เป็นการอธิบายถึงการหาค่าลิมิตเข้าใกล้อินฟินิตี้ทางซ้ายและทางขวา (ลิมิตอนันต์)
แคลคูลัสความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
เป็นการอธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไขการหาค่าความต่อเนื่องในฟังก์ชันต่างๆ พร้อมแบบฝึกหัดโดยละเอียด
แคลคูลัสอนุพันธ์#1(Four-Step-Rules)
เป็นการอธิบายถึงการหาค่าความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง หรือ derivertive หรือ เรามักเรียกติดปากกันว่าดิฟนั่นเอง พร้อมแบบฝึกหัดโดย
แคลคูลัส อนุพันธ์#2(โดยใช้สูตร)
จะเป็นการอธิบายถึงการหาค่าอนุพันธ์โดยใช้สูตรต่างๆ โดยอาศัยคุณสมบัติขิงการอนุพันธ์ พร้อมแบบฝึกหัดโดยละเอียด
แคลคูลัสอนุพันธ์#3(กฏลูกโซ่)
เป็นการอธิบายถึงการหาค่าอนุพันธ์ของฟังก์ชันที่อยู่ในรูปทวินาม พร้อมแบบฝึกหัด
แคลคูลัส อนุพันธ์#4(อนุพันธ์แฝง-อนุพันธ์อันดับสูง)
เป็นการอธิบายถึงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรมากกว่า 1 ตัวอยู่ทั้งสองข้างของสมการ และการหาอนุพันธ์หลายชั้น ตามลำดับ พร้อมแบบฝึกหัดโดยละเอียด
แคลคูลัส อนุพันธ์#5(อนุพันธ์ของสมการอิงตัวแปรเสริม)
เป็นการหาการอนุพันธ์แบบมีตัวแปรมากกว่า 1 ตัว ซึ่งต้องอาศัยอีกตัวแปรช่วยในการหาคำตอบ
แคลคูลัส การประยุกต์อนุพันธ์#1(เส้นสัมผัสเส้นโค้งและเส้นตั้งฉาก)
โดยเป็นการอธิบายเส้นสัมผัสเส้นโค้ง หรือเส้นตั้งฉาก ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร พร้อมทั้งแบบฝึกหัดโดยละเอียด
แคลคูลัส การประยุกต์อนุพันธ์#2(ความเร็วและความเร่ง)
ในหัวข้อความเร็วและความเร่ง เราสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างระยะทาง ความเร็ว และความเร่ง โดยอาศัยการอนุพันธ์ พร้อมทั้งแบบฝึกหัดโดยละเอียด
แคลคูลัส การประยุกต์อนุพันธ์#3(อัตราสัมพัทธ์)
ในหัวข้ออัตราสัมพัทธ์ ซึ่งเป็นการอธิบายความสัมพันธ์เทียบกับเวลา มักใช้กับการหาปริมาตรต่างๆ พร้อมทั้งแบบฝึกหัดโดยละเอียด
แคลคูลัส ค่าสูงสุดต่ำสุด
เป็นการหาค่าคำตอบโดยใช้การอนุพันธ์โดยวิธีการต่างๆ ซึ่งรวมไปถึงการอธิบายการหาค่าสูงสุดสัมพัทธ์ ค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ พร้อมแบบฝึกหัดโดยละเอียด
แคลคูลัส อินทิเกรต(จำกัดเขต-ไม่จำกัดเขต)
เป็นการอธิบายเกี่ยวกับการอินทิเกรต 2 แบบ คือ อินทิเกรตแบบจำกัดเขต และอินทิเกรตแบบไม่จำกัดเขต รวมไปถึงนิยามต่างๆพร้อมแบบฝึกหัดโดยละเอียด
แคลคูลัส พื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง
เป็นการอธิบายการหาค่าพื้นที่ที่ถูกปิดล้อมด้วยเส้นโค้งโดยอาศัยการอินทิเกรต พร้อมทั้งแบบฝึกหัดโดยละเอียด
แคลคูลัส อนุพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณและอินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณ
เป็นการอธิบายการหาค่าคำตอบของฟังก์ชันตรีเกณโดยใช้การอนุพันธ์และการอินทิเกรต ซึ่งอาศัยคุณสมบัติต่างๆ พร้อมทั้งแบบฝึกหัดโดยละเอียดของทั้งสองแบบ