ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น ม.4
จำนวนจริง , ระบบจำนวนจริง , ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น เวลาสอบ PAT 1 พี่หนึ่งจะรวมให้มันอยู่บทเดียวกันเลย เพราะเนื้อหามันต่อเนื่องกันนะจ๊ะ 🙂 ) น้องๆส่วนใหญ่จะไม่ชอบบทนี้โดยเฉพาะถ้าที่โรงเรียนคุณครูเน้นการพิสูจน์
1. จำนวนเต็มลบ หมายถึง จำนวนที่เป็นสมาชิกของเซต I – โดยที่ |
||
2. จำนวนเต็มศูนย์ (0) |
||
3. จำนวนเต็มบวก หมายถึง จำนวนที่เป็นสมาชิกของเซต I+ โดยที่ |
||
จำนวนเต็มบวก เรียกได้อีกอย่างว่า “จำนวนนับ” ซึ่งเขียนแทนเซตของจำนวนนับได้ด้วยสัญลักษณ์ N โดยที่ |
||
• ระบบจำนวนเชิงซ้อน | ||
นอกจากระบบจำนวนจริงที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีจำนวนอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งได้จากการแก้สมการต่อไปนี้ | ||
x2 = -1 | ∴ x = √-1 = i | |
x2 = -2 | ∴ x = √-2 = √2 i | |
x2 = -3 | ∴ x = √-3 = √3 i | |
จะเห็นได้ว่า “ไม่สามารถจะหาจำนวนจริงใดที่ยกกำลังสองแล้วมีค่าเป็นลบ” เราเรียก √-1 หรือจำนวนอื่นๆ ในลักษณะนี้ว่า “จำนวนจินตภาพ”และเรียก i ว่า “หนึ่งหน่วยจินตภาพ” เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ i |
||
ยูเนียนของเซตจำนวนจริงกับเซตจำนวนจินตภาพ คือ ” เซตจำนวนเชิงซ้อน ” (Complex numbers) |
• สมบัติการเ่ท่ากันของจำนวนจริง | ||||
กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ |
||||
1. สมบัติการสะท้อน a = a | ||||
2. สมบัติการสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a | ||||
3. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c | ||||
4. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c | ||||
5. สมบัติการคูณด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว ac = bc | ||||
• สมบัติการบวกในระบบจำนวนจริง | ||||
กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ | ||||
1. สมบัติปิดการบวก a + b เป็นจำนวนจริง |
||||
2. สมบัติการสลับที่ของการบวก a + b = b + c |
||||
3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มการบวก a + ( b + c) = ( a + b ) + c |
||||
4. เอกลักษณ์การบวก 0 + a = a = a + 0 |
||||
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริงจะมี 0 เป็นเอกลักษณ์การบวก |
||||
5. อินเวอร์สการบวก a + ( -a ) = 0 = ( -a ) + a |
||||
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง จำนวน a จะมี -a เป็นอินเวอร์สของการบวก |
||||
• สมบัติการคูณในระบบจำนวนจริง |
||||
กำหนดให้ a, b, c, เป็นจำนวนจริงใดๆ |
||||
1. สมบัติปิดการคูณ ab เป็นจำนวนจริง |
||||
2. สมบัติการสลับที่ของการคูณ ab = ba |
||||
3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการคูณ a(bc) = (ab)c |
||||
4. เอกลักษณ์การคูณ 1 · a = a = a · 1 |
||||
นั่นคือในระบบจำนวนจริง มี 1 เป็นเอกลักษณ์การคูณ |
||||
5. อินเวอร์สการคูณ a · a-1 = 1 = a · a-1, a ≠ 0 |
||||
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง จำนวนจริง a จะมี a-1 เป็นอินเวอร์สการคูณ ยกเว้น 0 |
||||
6. สมบัติการแจกแจง |
||||
a( b + c ) = ab + ac |
||||
( b + c )a = ba + ca |
||||
จากสมบัติของระบบจำนวนจริงที่ได้กล่าวไปแล้ว สามารถนำมาพิสูจน์เป็นทฤษฎีบทต่างๆ ได้ดังนี้ | ||||
ทฤษฎีบทที่ 1 | กฎการตัดออกสำหรับการบวก | |||
เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ | ||||
ถ้า a + c = b + c แล้ว a = b |
||||
ถ้า a + b = a + c แล้ว b = c |
||||
ทฤษฎีบทที่ 2 | กฎการตัดออกสำหรับการคูณ | |||
เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ | ||||
ถ้า ac = bc และ c ≠ 0 แล้ว a = b | ||||
ถ้า ab = ac และ a ≠ 0 แล้ว b = c | ||||
ทฤษฎีบทที่ 3 | เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ | |||
a · 0 = 0 | ||||
0 · a = 0 | ||||
ทฤษฎีบทที่ 4 | เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ | |||
(-1)a = -a | ||||
a(-1) = -a | ||||
ทฤษฎีบทที่ 5 | เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ | |||
ถ้า ab = 0 แล้ว a = 0 หรือ b = 0 | ||||
ทฤษฎีบทที่ 6 | เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ | |||
a(-b) = -ab |
||||
(-a)b = -ab | ||||
(-a)(-b) = ab | ||||
เราสามารถนิยามการลบและการหารจำนวนจริงได้โดยอาศัยสมบัติของการบวกและการคูณใน ระบบจำนวนจริงที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น |
||||
• การลบจำนวนจริง | ||||
บทนิยาม | เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ | |||
a- b = a + (-b) | ||||
นั่นคือ a – b คือ ผลบวกของ a กับอินเวอร์สการบวกของ b | ||||
• การหารจำนวนจริง | ||||
บทนิยาม | เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ เมื่อ b ≠ 0 | |||
|
||||
|
บทนิยาม | สมการพหุนามตัวแปรเดียว คือ สมการที่อยู่ในรูป | |||
anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 = 0 |
||||
เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก และ an, an-1, an-2 ,…, a1, a0 เป็นจำนวนจริง ที่เป็นสัมประสิทธิ์ของพหุนาม โดยที่ an ≠ 0 เรียกสมการนี้ว่า “สมการพหุนามกำลัง n“ | ||||
ตัวอย่างเช่น
|
x3 – 2x2 + 3x -4 = 0 | |||
4x2 + 4x +1 = 0 | ||||
2x4 -5x3 -x2 +3x -1 = 0 | ||||
• การแ้ก้สมการพหุนามเมื่อ n > 2 | ||||
สมการพหุนามกำลัง n ซึ่งอยู่ในรูป anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 = 0 เมื่อ n > 2 และ an, an-1, an-2 ,…, a1, a0 เป็นจำนวนจริง โดยที่ an ≠ 0 จะสามารถหาคำตอบของสมการพหุนามกำลัง n นี้ได้โดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือช่วยในการแยกตัวประกอบ | ||||
ทฤษฎีบทเศษเหลือ | ||||
เมื่อ f(x) = anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 | ||||
โดย n > 2 และ an, an-1, an-2 ,…, a1, a0 เป็นจำนวนจริง และ an ≠ 0 | ||||
ถ้าหารพหุนาม f(x) ด้วยพหุนาม x – c เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใดๆแล้ว เศษของ | ||||
การหารจะมีค่าเท่ากับ f(c) | ||||
|
||||
ทฤษฎีบทตัวประกอบ | ||||
เมื่อ f(x) = anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 | ||||
โดย n > 2 และ an, an-1, an-2 ,…, a1, a0 เป็นจำนวนจริง และ an ≠ 0 | ||||
พหุนาม f(x) นี้จะมี x – c เป็นตัวประกอบ ก็ต่อเมื่อ f(c) = 0 | ||||
|
||||
แสดงว่า x – c หาร f(c) ได้ลงตัว | ||||
นั่นคือ x – c เป็นตัวประกอบของ f(x) | ||||
ทฤษฎีบทตัวประกอบจำนวนตรรกยะ | ||||
เมื่อ f(x) = anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 | ||||
โดย n > 2 และ an, an-1, an-2 ,…, a1, a0 เป็นจำนวนจริง และ an ≠ 0 | ||||
ถ้า x –เป็นตัวประกอบของพหุนามของ f(x) โดยที่ m และ k เป็นจำนวนเต็ม | ||||
ซึ่ง m ≠ 0 และ ห.ร.ม. ของ m และ k เท่ากับ 1 แล้ว | ||||
(1) m จะเป็นตัวประกอบของ an | ||||
(2) k จะเป็นตัวประกอบของ a0 | ||||
ขั้นตอนการหาคำตอบของสมการโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ มีดังนี้ | ||||
1. ถ้า an = 1 ให้หาตัวประกอบ c ของ a0 และตัวประกอบ m ของ an ที่ทำให้ | ||||
f() = 0 ตามทฤษฎีบทตัวประกอบจำนวนตรรกยะ | ||||
|
||||
จะเป็นพหุนามที่มีดีกรีต่ำกว่าดีกรีของ f(x) อยู่ 1 | ||||
3. ถ้าผลหารในข้อ 2. ยังมีดีกรีสูงกว่า 2 ให้แยกตัวประกอบต่อไปอีก โดยใช้วิธีตามข้อ 1. และ 2. |
ตัวประกอบและการหาตัวประกอบ
- จำนวนนับ คือ จำนวนเต็มบวก ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, …
- การหารลงตัว คือ การหารที่ไม่มีเศษ หรือเศษเป็น “0”
- ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ คือ จำนวนนับที่นำไปหารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว
- จำนวนเฉพาะ คือ จำนวนนับที่มีตัวประกอบเพียงสองตัว คือ 1 กับจำนวนนับนั้น
- ตัวประกอบเฉพาะ คือ ตัวประกอบที่เป็นจำนวนเฉพาะ
-
ตัวประกอบของจำนวนเต็มใด ๆ คือ จำนวนที่หารจำนวนนั้นได้ลงตัว ถ้าจำนวนที่ 2 หารได้ลงตัว เรียกว่า จำนวนคู่ ส่วนจำนวนที่ 2 หารไม่ลงตัว เรียกว่า จำนวนคี่
จากที่น้องๆ ได้ศึกษาความหมายของตัวประกอบเมื่อเข้าใจความหมายแล้ว ลำดับต่อไปให้หาจำนวนนับที่หาร 8, 12 และ 20 ลงตัว
จำนวนที่หาร 8 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4 และ 8
จำนวนที่หาร 12 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6 และ 12
จำนวนที่หาร 20 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 5, 10 และ 20
เราเรียก 1, 2, 4 และ 8 ว่า เป็นตัวประกอบของ 8
1, 2, 3, 4, 6 และ 12 ว่า เป็นตัวประกอบของ 12
1, 2, 4, 5, 10 และ 20 ว่า เป็นตัวประกอบของ 20
เมื่อรู้จักตัวประกอบแล้ว เราจะมาทำความรู้จักกับ จำนวนเฉพาะกันค่ะ
จำนวนเฉพาะ
ตัวอย่างที่ 1 จงหาตัวประกอบทั้งหมดของจำนวนนับ 1 – 10
ตัวประกอบทั้งหมดของ 1 คือ 1
ตัวประกอบทั้งหมดของ 2 คือ 1, 2
ตัวประกอบทั้งหมดของ 3 คือ 1, 3
ตัวประกอบทั้งหมดของ 4 คือ 1, 2, 4
ตัวประกอบทั้งหมดของ 5 คือ 1, 5
ตัวประกอบทั้งหมดของ 6 คือ 1, 2, 3, 6
ตัวประกอบทั้งหมดของ 7 คือ 1, 7
ตัวประกอบทั้งหมดของ 8 คือ 1, 2, 4, 8
ตัวประกอบทั้งหมดของ 9 คือ 1, 3, 9
ตัวประกอบทั้งหมดของ 10 คือ 1, 2, 5, 10
ดังนั้นจำนวนนับที่มีค่าอยู่ระหว่าง 1 – 10 ที่เป็นจำนวนเฉพาะได้แก่ 2, 3, 5 และ 7
สรุปได้ว่า จำนวนเฉพาะ คือ จำนวนที่มากกว่า 1 ที่มีตัวประกอบสองตัว คือ 1 และตัวมันเอง
ตัวอย่างที่ 2 จงพิจารณาจำนวนต่อไปนี้ว่าเป็นจำนวนเฉพาะหรือไม่ เพราะเหตุใด
1) 2 2) 6 3) 11 4) 15 5) 19 6) 21 7) 31 8) 47 9) 87 10) 97
1) 2 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 2 มีตัวประกอบ 2 ตัว ได้แก่ 1 และ 2
2) 6 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 6 มีตัวประกอบ 4 ตัว ได้แก่ 1 , 2, 3 และ 6
3) 11 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 11 มีตัวประกอบ 2 ตัว ได้แก่ 1 และ 11
4) 15 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 15 มีตัวประกอบ 4 ตัว ได้แก่ 1, 3, 5 และ 15
5) 19 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 19 มีตัวประกอบ 2 ตัว ได้แก่ 1 และ 19
6) 21 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 21 มีตัวประกอบ 4 ตัว ได้แก่ 1 , 3 ,7 และ 21
7) 31 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 31 มีตัวประกอบ 2 ตัว ได้แก่ 1 และ 31
8) 47 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 47 มีตัวประกอบ 2 ตัว ได้แก่ 1 และ 47
9) 87 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 87 มีตัวประกอบ 2 ตัว ได้แก่ 1 และ 87
10) 97 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 97 มีตัวประกอบ 2 ตัว ได้แก่ 1 และ 97
จากตัวอย่างข้างต้น ทำให้น้องๆ รู้จักจำนวนเฉพาะ ต่อไปเราจะมาทำความรู้จักกับ ตัวประกอบเฉพาะ กันค่ะ
ตัวประกอบเฉพาะ
ตัวอย่างที่ 3 พิจารณาจำนวนต่อไปนี้ว่าเป็นจำนวนเฉพาะหรือไม่ เพราะเหตุใด
1) 12 2) 23 3) 28 4) 41
วิธีทำ 1) 12 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 12 มีตัวประกอบ 6 ตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 6 และ 12
2) 23 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 23 มีตัวประกอบ 2 ตัว ได้แก่ 1 และ 23
3) 28 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 28 มีตัวประกอบ 6 ตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 7, 14 และ 28
4) 31 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะ 31 มีตัวประกอบ 2 ตัว ได้แก่ 1 และ 31
ตัวอย่างที่ 4 จงหาตัวประกอบเฉพาะของจำนวนต่อไปนี้
1) 8 2) 25 3) 54
1) 8 มีตัวประกอบทั้งหมด ได้แก่ 1, 2, 4, 8
ตัวประกอบเฉพาะของ 8 คือ 2
2) 25 มีตัวประกอบทั้งหมด ได้แก่ 1, 5 และ 25
ตัวประกอบเฉพาะของ 25 คือ 5
3) 54 มีตัวประกอบทั้งหมด ได้แก่ 1, 2, 3, 6, 9, 18, 27 และ 54
ตัวประกอบเฉพาะของ 54 คือ 2 และ 3
สรุปได้ว่า ตัวประกอบเฉพาะ คือ ตัวประกอบที่เป็นจำนวนเฉพาะ
ตัวอย่างที่ 5 จงหาตัวประกอบเฉพาะทั้งหมดของจำนวนต่อไปนี้
1) 24 2) 35 3) 40 4) 75 5) 80
1) 24 มีตัวประกอบ 8 จำนวน คือ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12 และ 24
มีตัวประกอบเฉพาะ 2 จำนวน คือ 2 และ 3
2) 35 มีตัวประกอบ 4 จำนวน คือ 1, 5, 7 และ 35