คณิตศาสตร์ ม.3 เรียนอะไรบ้าง? เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.3 ( เทอม 1 และ 2) มีดังนี้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 ส่วนที่ 1
บทที่ 1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างกำลังสาม
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม
บทที่ 3 สมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว
บทที่ 4 ความคล้าย
4.1 รูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน
4.2 รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
บทที่ 5 กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
5.1 แนะนำฟังก์ชัน
5.2 กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
บทที่ 6 สถิติ(3)
6.1 แผนภาพกล่อง
6.2 การอ่านและการแปลความหมายจากแผนภาพกล่อง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 ส่วนที่ 2
บทที่ 1 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
1.1 แนะนำระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
1.2 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
บทที่ 2 วงกลม
2.1 มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม
2.2 คอร์ดของวงกลม
2.3 เส้นสัมผัสวงกลม
บทที่ 3 พีระมิด กรวย และทรงกลม
3.1 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของพีระมิด
3.2 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของกรวย
3.3 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของทรงกลม
บทที่ 4 ความน่าจะเป็น
4.1 โอกาสของเหตุการณ์
4.2 ความน่าจะเป็น
บทที่ 5 อัตราส่วนตรีโกณมิติ
5.1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
5.2 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม
*** เนื้อหาทั้งหมดตามหลักสูตรของ สสวท.
เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.3 ( เทอม 1 ) มีดังนี้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( เลขหลัก )
บทที่ 1. พื้นที่ผิวและปริมาตร
- รูปเรขาคณิตสามมิติ
- ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก
- ปริมาตรของพีระมิดและกรวย
- ปริมาตรของทรงกลม
- พื้นที่ของปริซึมและทรงกระบอก
บทที่ 2. กราฟ
- กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่มี
- ความสัมพันธ์เชิงเส้น
- กราฟของสมการเส้นสองตัวแปร
- กราฟกับการนำไปใช้
บทที่ 3. ระบบสมการเชิงเส้น
- ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
- การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรและกราฟ
บทที่ 4. ความคล้าย
- รูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน
- รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
- การนำไปใช้
บทที่ 5. พื้นที่ผิวและปริมาตร
- พื้นที่ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลม
- การนำไปใช้
คณิตศาสตร์เสริม ( เลขเสริม )
บทที่ 1. กรณฑ์ที่สอง
- สมบัติของ
- การดำเนินการของจำนวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑ์ที่2
- การนำไปใช้
บทที่ 2. การแยกตัวประกอบพหุนาม
- การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
- การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์
- การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี สูงกว่าที่มีประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม
- การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มี สัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
บทที่ 3. สมการกำลังสอง
- ทบทวนสมการกำลังสอง
- การแก้สมการกำลังสองโดยวิธีกำลังสองสมบรูณ์
- โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสอง
บทที่ 4. พาราโบลา
- สมการของพาราโบลา
- พาราโบลาที่กำหนดด้วยสมการy = ax2
- พาราโบลาที่กำหนดด้วยสมการy = ax2+k
- พาราโบลาที่กำหนดด้วยสมการy = a(xh)2+k
- y =ax2+bk+c พาราโบลาที่กำหนดด้วยสมการ
นื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.3 ( เทอม 2 ) มีดังนี้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( เลขหลัก )
บทที่ 1. อสมการ
- อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
- การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 2. ความน่าจะเป็น
- ความน่าจะเป็น
- การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
- ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
- ความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจ
บทที่ 3. สถิติ
- ข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
- ค่ากลางของข้อมูล
บทที่ 4. ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสาตร์
- กิจกรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
- ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสาตร์กับตรีโกณมิติ
คณิตศาสตร์เสริม ( เลขเสริม )
บทที่ 1. การให้เหตุผลเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยม และ รูปสี่เหลี่ยม
- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการให้เหตุผลทางเรขาคณิต
- ทฤษฎีบทเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม
- การสร้าง
บทที่ 2. ระบบสมการ
- ระบบสมการที่ประกอบด้วยสมการเชิงเส้น และสมการดีกรีสอง
- ระบบสมการที่ประกอบด้วยสมการดีกรีสองทั้งสองสมการ
บทที่ 3. วงกลม
- วงกลม
- มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม
- คอร์ด
- เส้นสัมผัสวงกลม
บทที่ 4. เศษส่วนของพหุนาม
- การดำเนินการของเศษส่วนของพหุนาม
- การแก้สมการเศษส่วนของพหุนาม
ขอบคุณข้อมูล https://www.tewfree.com/ และ http://www.tutormathphysics.com/