คณิตศาสตร์พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 อัพเดท ตามหลักสูตร สสวท.
สมบัติของเลขยกกำลัง
5.1 การดำเนินการของเลขยกกำลัง
5.2 สมบัติอื่นๆ ของเลขยกกำลัง
สมบัติเลขยกกำลัง
ถ้า a , b เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ m , n เป็นจำนวนเต็มบวก
1) การคูณเลขยกกำลัง ถ้าเลขยกกำลังมีฐานเหมือนกัน เมื่อคูณกัน ให้นำเลขชี้กำลังของตัวคูณแต่ละตัวมาบวกกัน โดยใช้ฐานตัวเดิม นั่นคือ a a = a
เช่น 2 2 = 2 =2
2) การหารเลขยกกำลัง ถ้าเลขยกกำลังมีฐานเหมือนกัน เมื่อหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังของตัวหารไปลบเลขชี้กำลังของตัวตั้ง โดยใช้ฐานตัวเดิม นั่นคือ a a = a
เช่น 3 3 = 3 = 3
3) เลขยกกำลังซ้อน ให้นำเลขชี้กำลังมาคูณกัน
นั่นคือ (a ) = a เช่น (3 ) = 3
4) เลขยกกำลังของผลคูณ สามารถกระจายเป็นผลคูณของเลขยกกำลังแต่ละตัว เมื่อมีฐานคงเดิม นั่นคือ (ab) = a b เช่น (3p) = 3 p
5) เลขยกกำลังของผลหาร สามารถกระจายเป็นผลหารของเลขยกกำลังแต่ละตัว เมื่อมีฐานคงเดิม นั่นคือ = เช่น =
6) เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนลบ สามารถเขียนให้เป็นส่วนกลับของ
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนบวกได้ นั่นคือ a = เช่น x =
7) เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นศูนย์(0) เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นศูนย์ (0) มีค่าเท่ากับ 1 เสมอ นั่นคือ a = 1 เมื่อ a 0 เช่น 5 = 1
ถ้า a , b เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ m , n เป็นจำนวนเต็มบวก
1) การคูณเลขยกกำลัง ถ้าเลขยกกำลังมีฐานเหมือนกัน เมื่อคูณกัน ให้นำเลขชี้กำลังของตัวคูณแต่ละตัวมาบวกกัน โดยใช้ฐานตัวเดิม นั่นคือ a a = a
เช่น 2 2 = 2 =2
2) การหารเลขยกกำลัง ถ้าเลขยกกำลังมีฐานเหมือนกัน เมื่อหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังของตัวหารไปลบเลขชี้กำลังของตัวตั้ง โดยใช้ฐานตัวเดิม นั่นคือ a a = a
เช่น 3 3 = 3 = 3
3) เลขยกกำลังซ้อน ให้นำเลขชี้กำลังมาคูณกัน
นั่นคือ (a ) = a เช่น (3 ) = 3
4) เลขยกกำลังของผลคูณ สามารถกระจายเป็นผลคูณของเลขยกกำลังแต่ละตัว เมื่อมีฐานคงเดิม นั่นคือ (ab) = a b เช่น (3p) = 3 p
5) เลขยกกำลังของผลหาร สามารถกระจายเป็นผลหารของเลขยกกำลังแต่ละตัว เมื่อมีฐานคงเดิม นั่นคือ = เช่น =
6) เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนลบ สามารถเขียนให้เป็นส่วนกลับของ
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนบวกได้ นั่นคือ a = เช่น x =
7) เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นศูนย์(0) เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นศูนย์ (0) มีค่าเท่ากับ 1 เสมอ นั่นคือ a = 1 เมื่อ a 0 เช่น 5 = 1