การบวก ลบ คูณ หารของเศษส่วน
การบวกและการลบเศษส่วนเมื่อตัวส่วนเท่ากัน
หากจำนวนส่วนเท่ากันให้นำตัวเศษของจำนวนนั้นๆ มาบวกหรือลบกันได้เลย และให้คงตัวส่วนไว้เหมือนเดิม
หลักการ
ทำตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน แล้วนำตัวเศษมาบวกหรือลบกัน กล่าวคือ ถ้า และ แทนเศษส่วนใดๆจะได้ว่า
เศษส่วนวิธีที่ 1 เปลี่ยนเศษส่วนจำนวนคละให้เป็นเศษส่วนเกิน
วิธีที่ 2 ใช้สมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้เมื่อ เศษส่วน เป็นจำนวนที่มีีค่ามาก
เศษส่วนวิธีที่ 1 เปลี่ยนเศษส่วนจำนวนคละให้เป็นเศษส่วนเกิน
วิธีที่ 2 ใช้สมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้เมื่อ เศษส่วน เป็นจำนวนที่มีีค่ามาก
คุณสมบัติของอัตราส่วน
1. a : b = c : d เมื่อ ad = bc
2. a : b = c : d เมื่อ
3. a : b = c : d เมื่อ
4. a : b = c : d เมื่อ
5. a : b = c : d เมื่อ
6. a : b = c : d เมื่อb : a = d : c
7. a : b และ b : c จะได้ a : b : c
2. a : b = c : d เมื่อ
3. a : b = c : d เมื่อ
4. a : b = c : d เมื่อ
5. a : b = c : d เมื่อ
6. a : b = c : d เมื่อb : a = d : c
7. a : b และ b : c จะได้ a : b : c
หมายเหตุ การบวกและการลบเศษส่วนอาจทำได้โดยใช้วิธีลัด
ตัวอย่าง ค.ร.น. ของ 3, 12 และ 20 เท่ากับ 60
ตัวอย่าง ค.ร.น. ของ 3, 12 และ 20 เท่ากับ 60
ทศนิยม
ทศนิยมแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1. ทศนิยมซ้ำ มี 2 ประเภท
– ทศนิยมรู้จบ คือ ทศนิยมที่ซ้ำศุนย์
– ทศนิยมไม่รู้จบ คือ ทศนิยมที่ซ้ำกันเป็นระบบ
2. ทศนิยมไม่ซ้ำ เป็นทศนิยมที่ไม่ซ้ำกัน ไม่เป็นระบบ
ตัวอย่าง
การบวกและการลบเศษส่วนเมื่อตัวส่วนไม่เท่ากัน
ในกรณีนี้เราต้องทำส่วนให้เท่ากันก่อน ซึ่งสามารถทำได้ดังนี้
- การนำจำนวนที่ไม่เท่ากับศูนย์มาคูณทั้งเศษและส่วนเพื่อให้ตัวส่วนเท่ากัน เมื่อได้ตัวส่วนเท่ากันแล้วค่อยตัวเศษมาบวกหรือลบกัน
- การหา ค.ร.น. ของตัวส่วน เมื่อได้เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันค่อยนำตัวเศษมาบวกหรือลบกัน
เมื่อเรานำมาบวกกันแล้วได้ผลลัพธ์ออกมาเป็นจำนวนเศษส่วนเกิน เราก็สามารถทำให้อยู่ในรูปของจำนวนคละได้