ให้ a, b และ c แทนจำนวนจริง
- สมบัติสมมาตร
ถ้า a=b แล้ว b=a
- สมบัติถ่ายทอด
ถ้า a=b และ b=c แล้ว a=c
- สมบัติของการเท่ากัน (การบวก)
ถ้า a=b แล้ว a+c=b+c
- สมบัติของการเท่ากัน (การคูณ)
ถ้า a=b แล้ว ac=bc
การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ในการแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จะทำคล้ายๆกับการแก้สมการ โดยมีหลักการ ดังนี้
- จัดตัวแปรให้อยู่ข้างเดียวกัน และจัดตัวเลขไว้อีกฝั่ง (นิยมจัดตัวแปรไว้ด้านซ้ายของสัญลักษณ์อสมการ และจัดตัวเลขไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์อสมการ)
- ถ้านำจำนวนลบ มาคูณ หรือ หาร สัญลักษณ์ของอสมการจะเปลี่ยนเป็นสัญลักษณ์ตรงกันข้าม ดังนี้
-
- มากกว่า (>) เปลี่ยนเป็น น้อยกว่า (<)
- น้อยกว่า (<) เปลี่ยนเป็น มากกว่า (>)
- มากกว่าหรือเท่ากับ (≥) เปลี่ยนเป็น น้อยกว่าหรือเท่ากับ (≤)
- น้อยกว่าหรือเท่ากับ (≤) เปลี่ยนเป็น มากกว่าหรือเท่ากับ (≥)
- ไม่ท่ากับ (≠) สัญลักษณ์ไม่เปลี่ยน
อสมการ
อสมการ เป็นประโยคสัญลักษณ์ที่มีเครื่องหมาย ≤ , < , > , ≥ แทนเครื่องหมาย = ในสมการ ดังนั้นจึงทำให้อสมการนั้นมีคำตอบของตัวแปรได้มากกว่า 1 ค่า
ตัวอย่าง
X ≤ 5 , ทำให้คำตอบของ x = 5 4 3 2 1 …..
y < 5, ทำให้คำตอบของ y = 4 3 2 1 0 …..
z > 5, ทำให้คำตอบของ z = 6 7 8 9 10 …
n ≥ 5, ทำให้คำตอบของ n = 5 6 7 8 9 …
จัดรูปให้ตัวแปรกับค่าคงที่อยู่คนละข้าง จะเห็นได้ว่า เราต้องการ ย้าย 4 จากฝั่งซ้ายไปฝั่งขวา