เลขยกกำลัง
- รากที่ n ของจำนวนจริง
- เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกะ
-
รากที่ n ของจำนวนจริง
รากที่ n ของจำนวนจริง คือจำนวนจริงตัวหนึ่งยกกำลัง n แล้วเท่ากับ x เมื่อ n > 1 เราสามารถตรวจสอบรากที่ n ได้ง่ายๆ โดยนิยามดังนี้
ตัวอย่างที่ 1
1) รากที่ 4 ของ 625 คือ 5 และ – 5
ทั้งนี้เพราะ 5 กำลัง 4 = 625 และ (-5)กำลัง4 = 625
2) รากที่ 6 ของ 729 คือ 3 และ – 3
ทั้งนี้เพราะ 3กำลัง 6 = 729 และ(-3)กำลัง 6 = 729
3) รากที่ 5 ของ 1,024 คือ 4
ทั้งนี้เพราะ 4กำลัง5 = 1,024
4) รากที่ 7 ของ – 128 คือ – 2
ทั้งนี้เพราะ (-2) กำลัง 7 = – 128
ตัวอย่างที่ 2
1) (√4)² = 4
2) (√9)² = 9
3) (³√15)² = 15
4) (³√-20)³ = -20
5) (5√-125)5= -125
- สำหรับเลขยกกำลังที่เป็นที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ ก็คือ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วนเพราะจำนวนตรรกยะคือจำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนหรือทศนิยมซ้ำได้