ตารางธาตุและสมบัติของตารางธาตุ
ตารางธาตุ
ปี ค.ศ. 1817 โยฮัน เดอเบอไรเนอร์
• จัดกลุ่มของธาตุที่มีสมบัติคล้ายคลึงกันไว้ด้วยกัน ในรูปตารางธาตุ
• จัดธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ธาตุ ตามสมบัติที่คล้ายคลึงกัน เรียก Triad โดยธาตุตัวกลางจะมี
มวลอะตอมเป็นค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของอีกสองธาตุที่เหลือ น้ำหนักอะตอมกลางในแต่ละกลุ่มไม่ได้มีค่าเป็นค่าเฉลี่ยของธาตุที่เหลือ ทำให้ Triads ไม่เป็นที่ยอมรับในเวลาต่อมา 3 ปี ค.ศ. 1864 จอห์น เอ อาร์ นิวแลนด์ส
เสนอกฎ Law of Octaves (กฎคู่แปด) “ถ้าน าธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม จากน้อยไปมากแล้ว จะพบว่าธาตุที่ 8 จะ มีสมบัติทางเคมีและกายภาพคล้ายธาตุที่ 1 และจะเกิดขึ้นทุกๆ ช่วงของธาตุที่ 8 โดยเริ่มจากธาตุใดก็ได้โดยไม่รวมธาตุไฮโดรเจนและก๊าซมีตระกูลซึ่งขณะนั้นยังไม่พบ กฎนี้อธิบายไม่ได้ว่าเหตุใดน้ าหนักอะตอมจึงเกี่ยวข้องกับความคล้ายคลึงของธาตุ และกฏนี้ใช้ได้ถึงแคลเซียม (Ca) ที่มีมวลอะตอม 40 เท่านั้น
ค.ศ. 1869-1870 จูเลีย โลเธอร์ไมเออร์และ ดมิตริอิวาโนวิช เมนเดลีฟ
กฏพิริออดิก (Peridic law)เรียงธาตุตามน้ าหนักอะตอมจากน้อยไปหามาก แล้วแบ่งเป็นแถวให้เหมาะสม
จัดกลุ่มธาตุที่มีสมบัติทางเคมีและกายภาพคล้ายกัน ซึ่งปรากฏอยู่ตรงกันเป็นช่วงๆ ตำแหน่งในตารางธาตุมีความสัมพันธ์กับสมบัติทางกายภาพและเคมีของธาตุ ท าให้เมนเดลีฟสามารถท านายธาตุเหล่านั้นได้ล่วงหน้า เช่น