สรุปเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4
คณิตศาสตร์ ม.4 ตามหลักสูตรของ สสวท. (หลักสูตรใหม่ ฉบับปรับปรุงปี 2560) ซึ่งเป็นหลักสูตรอัพเดทล่าสุด และใช้มาจนถึงปีปัจจุบัน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (เลขหลัก)
ม.4 เทอม 1
บทที่ 1 เซต
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์
บทที่ 3 จำนวนจริง
บทที่ 4 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ม.4 เทอม 2
บทที่ 2 ความน่าจะเป็น
บทที 4 เรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
**เนื้อหารายเทอมอาจเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับการสอนของแต่ละโรงเรียน
บทที่ 1 เซต
1.1 เซต
บทที่ 1 เซต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต → รู้จักว่าเซตคืออะไร / เซตเขียนอย่างไร / ความสัมพันธ์ต่าง ๆ ภายในเซต / สมาชิกในเซต / สับเซต คืออะไร / พาวเวอร์เซต คืออะไร
การดำเนินการระหว่างเซต → การนำเซตจำนวนสองเซตขึ้นไปมาดำเนินการกัน โดยมี 4 วิธี ได้แก่ ยูเนียน , อินเทอร์เซกชัน , คอมพลีเมนต์ , ผลต่าง
การแก้ปัญหาโดยใช้เซต → เป็นการแก้โจทย์ปัญหาต่าง ๆ ที่ใช้เซตแก้ได้
และเกี่ยวกับจำนวนในแต่ละเซต
1.2 การดำเนินการระหว่างเซต
1.3 การแก้ปัญหาโดยใช้เซต
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์
2.1 ประพจน์
2.2 การเชื่อมประพจน์
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ประพจน์ → เรียนเกี่ยวกับ ประพจน์คืออะไร ข้อความลักษณะเรียกว่าประพจน์ และแบบไหนที่ไม่ใช่ประพจน์
การเชื่อมประพจน์ → การนำประพจน์สองประพจน์ขึ้นไปมาดำเนินการกัน โดยมี 5 วิธี ได้แก่ และ (^) หรือ () ถ้า…แล้ว (–>) ก็ต่อเมื่อ
การหาความจริงของประพจน์ → เราจะต้องหาว่าประพจน์ต่าง ๆ
บทที่ 3 หลักการนับเบื้องต้น
3.1 หลักการบวกและหลักการคูณ
3.2 การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด
3.3 การจัดหมู่สิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด
บทที่ 3 หลักการนับเบื้องต้น
หลักการบวกและหลักการคูณ → พื้นฐานของหลักการนับ 2 วิธี
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่ต่างกันทั้งหมด → การนับการทำงานเชิงเส้น ด้วยหลักการบวกและหลักการคูณ
บทที่ 4 ความน่าจะเป็น
4.1 การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
4.2 ความน่าจะเป็น
บทที่ 4 ความน่าจะเป็นการ
ทดลองสุ่ม ปริภูมิตัวอย่าง เหตุการณ์ → คำศัพท์พื้นฐานในเรื่องความน่าจะเป็น
ซึ่งจะทำให้สามารถทราบโอกาสที่จะเกิดขึ้นของเหตุการณ์ได้
ความน่าจะเป็น → การหาโอกาสที่เหตุการณ์
อธิบายความได้ว่า 1. ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เป็นไปได้ เป็น 0
2. ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใดๆจะเป็นจำนวนใดจำนวนหนึ่ง
ตั้งแต่ 0 ถึง 1
|
แซมเปิลสเปซ(Sample Space) คือเซตของผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่มและเป็นสิ่งที่เราสนใจ เรานิยมใช้สัญลักษณ์ S แทนแซมเปิลสเปซ จากความหมายของแซมเปิลสเปซ แสดงว่า ในการทดลองหรือการกระทำใด ๆ ก็ตาม ผลลัพธ์ที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นได้ต้องเป็นสมาชิกในแซมเปิลสเปซทั้งสิ้น
ผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้คือ หัว หรือ ก้อย
ดังนั้น แซมเปิลสเปซที่ได้ คือ S = {หัว, ก้อย}
ผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้คือ ลูกเต๋าขึ้นแต้ม 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือ 4 หรือ 5 หรือ 6
ดังนั้นแซมเปิลสเปซที่ได้คือS = {1, 2,3,4,5,6}
ตัวอย่างที่ 3 จากการทดลองสุ่มโดยการทดลองทอดลูกเต๋า 2 ลูก
1. จงหาแซมเปิลสเปซของแต้มของลูกเต๋าที่หงายขึ้น
2. จงหาแซมเปิลสเปซของผลรวมของแต้มบนลูกเต๋า