ความรู้พื้นฐาน สมบัติการบวกและการคูณของจำนวนจริง
ความรู้พื้นฐานที่ควรรู้
สมบัติการบวกและการคูณจำนวนจริง
ถ้า a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ
สมบัติ | การบวก | การคูณ |
ปิด | a+b € R | ab € R |
การสลับที่ | a+ b = b+a | ab=ba |
การเปลี่ยนหมู่ | (a+b)+c = a+(b+c) | (ab)= a(bc) |
การมีเอกลักษณ์ | มีจำวนจริง 0 ซึ่ง0+a = a= a+0 | มีจำนวนจริง ax1 = a= ax1 |
เรียก 0ว่าเอกลักษณ์ | เรียก 1 ว่าเอกลักษณ์ | |
อินเวอร์ส | สำหรับจำนวนจริง aจะมีจำนวนจริง –a โดยที่ (-a)+a = 0 = a+(-a) เรียก –a ว่าอินเวอร์ส การบวกจำนวนจริงของ a | เรียก 1 ว่าเอกลักษณ์การคูณสำหรับจำนวนจริง a ที่ a 0
จะมีจำนวนจริง a โดยที่ a a = 1 = a a เรียก a ว่าอินเวอร์สการคูณของจำนวนจริง a |
ดารแจกแจง | A(a+b) = ab+ac | |
สมบัติการบวกในระบบจำนวนจริง
กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ
1. สมบัติปิดการบวก a + b เป็นจำนวนจริง
2. สมบัติการสลับที่ของการบวก a + b = b + c
3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มการบวก a + ( b + c) = ( a + b ) + c
4. เอกลักษณ์การบวก 0 + a = a = a + 0
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริงจะมี 0 เป็นเอกลักษณ์การบวก
5. อินเวอร์สการบวก a + ( -a ) = 0 = ( -a ) + a
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง จำนวน a จะมี -a เป็นอินเวอร์สของการบวก
6. สมบัติการแจกแจง
a( b + c ) = ab + ac
( b + c )a = ba + ca
สมบัติการคูณในระบบจำนวนจริง
กำหนดให้ a, b, c, เป็นจำนวนจริงใดๆ
1. สมบัติปิดการคูณ ab เป็นจำนวนจริง
2. สมบัติการสลับที่ของการคูณ ab = ba
3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการคูณ a(bc) = (ab)c
4. เอกลักษณ์การคูณ 1 · a = a = a · 1
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง มี 1 เป็นเอกลักษณ์การคูณ
5. อินเวอร์สการคูณ a · a-1 = 1 = a · a-1, a ≠ 0
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง จำนวนจริง a จะมี a-1 เป็นอินเวอร์สการคูณ ยกเว้น 0
1.) สมบัติปิดการบวก
สมบัติปิดการบวก คือ การที่เรานำจำนวนจริง 2 ตัวมาบวกกัน เราก็ยังได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนจริงเหมือนเดิม
เช่น 2 + 2 = 4 จะเห็นว่า 2, 2 เป็นจำนวนจริง เมื่อนำมาบวกกัน ได้ 4 ก็ยังเป็นจำนวนจริง
ดังนั้น ถ้าให้ a, b ∈ จะได้ว่า a + b ∈
2.) สมบัติการสลับที่การบวก
ให้ a, b ∈ เมื่อ เป็นจำนวนจริง จะได้ว่า a + b = b + a
เช่น 12 + 3 = 3 + 12
เราจะตรวจสอบว่า ข้อความข้างบนเป็นจริง
พิจารณา 12 + 3 = 15
พิจาณนา 3 + 12 = 15
ดังนั้น 12 + 3 = 3 + 12
1. สมบัติปิดของการบวก
ถ้า a R และ b R แล้ว a + b R
ตัวอย่าง ถ้า 4 , 5 R แล้ว 4 + 5 = 9 ซึ่ง 9 R ด้วย
2. สมบัติการสลับที่ของการบวก
ถ้า a R และ b R แล้ว a + b = b + a
ตัวอย่าง 2 + 3 = 3 + 2
3. สมบัติการเปลี่ยนหมู่สำหรับการบวก
ถ้า a R , b R และ c R แล้ว a + ( b + c ) = ( a + b ) + c
ตัวอย่าง 2 + ( 4 + 5 ) = ( 2 + 4 ) + 5
4. สมบัติการมีเอกลักษณ์การบวก
จำนวนจริงที่นำมาบวกกับจำนวนจริง a แล้วได้ผลลัพธ์เท่ากับ a เรียกจำนวนจริงที่นำมาบวกว่าเอกลักษณ์การบวก ในระบบจำนวนจริงมีเอกลักษณ์การบวกจำนวนเดียว คือ 0
ตัวอย่าง 2 + 0 = 2 = 0 + 2
5. สมบัติการมีอินเวอร์สของการบวก
จำนวนจริงที่บวกกับจำนวนจริง a แล้วได้ผลลัพธ์เท่ากับ 0 คือ – a เรียก – a ว่าเป็นอินเวอร์สการบวกของ a
ตัวอย่าง ( – 5 ) + 5 = 0 = 5 + ( – 5)
3.) สมบัติการเปลี่ยนหมู่ที่การบวก
ให้ a, b, c ∈ เมื่อ เป็นจำนวนจริง จะได้ว่า (a + b) + c = a + (b + c)
เช่น (0 + 2) + 4 = 0 + (2 + 4)
ตรวจสอบว่าข้อความข้างต้นเป็นจริง
พิจารณา (0 + 2) + 4 = 2 + 4 = 6
พิจารณา 0 + (2 + 4) = 0+ 6 = 6
ดังนั้น (0 + 2) + 4 = 0 + (2 + 4)
4.) สมบัติการมีเอกลักษณ์การบวก
สมบัติการมีเอกลักษณ์คือ ไม่ว่าเราจะนำจำนวนจริงใด มาบวกกับเอกลักษณ์ เราจะได้ค่าเดิม
ซึ่งเอกลักษณ์ก็คือ 0 นั่นเอง (เฉพาะของการบวกนะจ๊ะ)
ให้ a ∈ จะได้ว่า a + 0 = a
เช่น 11 + 0 = 11
12 + 0 = 12
** เอกลักษณ์การบวกมีเพียงตัวเดียวเท่านั้น คือ 0
5.) สมบัติการมีตัวผกผันของการบวก
ตัวผกผันการบวก หรือ อินเวอร์สการบวก คือ จำนวนที่เมื่อนำมาบวกกับจำนวนจริงใดๆ แล้วได้ผลลัพธ์เท่ากับ 0
ให้ a ∈ จะได้ว่า อินเวอร์สของ a มีเพียงค่าเดียว คือ -a เพราะ a + (-a) = 0
เช่น อินเวอร์สการบวกของ 2 มีเพียงค่าเดียว ก็คือ -12 เพราะ 2 + (-2) = 0
อินเวอร์สการบวกของ 4 มีเพียงค่าเดียว ก็คือ -4 เพราะ 4 + (-4) = 0
**อินเวอร์สบวก หรือตัวผกผันการบวก ไม่จำเป็นต้องจำนวนจริงลบ สามารถเป็นจำนวนจริงบวกได้ เช่น
อินเวอร์สการบวกของ -13 คือ 13
อินเวอร์สการบวกของ -1.25 คือ 1.25
1. สมบัติปิดของการคูณ
ถ้า a R และ b R แล้ว a b R
ตัวอย่าง 3 R แล้ว 4 R แล้ว 3 4 = 12 ซึ่ง 12 R
2. สมบัติการสลับที่ของการคูณ
ถ้า a และ b R แล้ว a b = b a
ตัวอย่าง 2 R และ 3 R แล้ว 2 3 = 3 2
3. สมบัติการเปลี่ยนหมู่สำหรับการคูณ
ถ้า a , b และ c R แล้ว ( ab ) c = a ( b c )
ตัวอย่าง 2 , 3 และ 4 R แล้ว ( 2 3 ) 4 = 2 ( 3 4 )
4. สมบัติการมีเอกลักษณ์การคูณ
จำนวนจริงที่นำมาคูณกับจำนวนจริง a แล้วได้ผลลัพธ์เท่ากับ a เรียกจำนวนจริงที่นำมาคูณว่าเอกลักษณ์การคูณ ในระบบจำนวนจริงมีเอกลักษณ์การคูณจำนวนเดียว คือ 1
ตัวอย่าง 1 3 = 3 = 3 1
5. สมบัติการมีอินเวอร์สของการคูณ
จำนวนที่คูณกับจำนวนจริง a แล้วได้ผลลัพธ์เป็น 1 คือ a– 1 เรียก a– 1 ว่าเป็นอินเวอร์สการคูณของจำนวนจริง a
ตัวอย่าง 4 4 – 1 = 4 = = 1 ดังนั้น 4 – 1 หรือ เป็นอินเวอร์สการคูณของ 4 หรือ 4 4 – 1 = 4 1 +( -1 ) = 4 0 = 1
ตัวอย่างของอินเวอร์สการบวกของจำนวนจริง
1. อินเวอร์สการบวกของ 5 คือ – 5
2. อินเวอร์สการบวกของ 0.3 คือ – 0.3
สมบัติการมีอินเวอร์สของการคูณ
จำนวนที่คูณกับจำนวนจริง a แล้วได้ผลลัพธ์เป็น 1 คือ a– 1 เรียก a– 1 ว่าเป็นอินเวอร์สการคูณของจำนวนจริง a
เช่น 4 × 4 – 1 = 4 × 1/4 = = 1 ดังนั้น 4 – 1 หรือ 1/4 เป็นอินเวอร์สการคูณของ 4
หรือ 4 × 4 – 1 = 4 1 +( -1 ) = 4 0 = 1
ตัวอย่างของอินเวอร์สการบวกของจำนวนจริง
1. อินเวอร์สการบวกของ 5 คือ – 5
2. อินเวอร์สการบวกของ 0.3 คือ – 0.3
3. อินเวอร์สการบวกของ – √3 คือ √3
4. อินเวอร์สการบวกของ 2∏ คือ – 2∏
5. อินเวอร์สการบวกของ 1/2 – 1/3 คือ – (1/2-1/3)
6. อินเวอร์สการบวกของ 0.1 คือ – 0.1
7. อินเวอร์สการบวกของ – 1/4 คือ 1/4
8. อินเวอร์สการบวกของ -1+√2/2 คือ – (-1+√2/2) หรือ
ตัวอย่างของอินเวอร์สการคูณของจำนวนจริง
1. อินเวอร์สการคูณของ √2/5 คือ 5/√2
2. อินเวอร์สการคูณของ -25 คือ -1/25
3. อินเวอร์สการคูณของ √3-5√2 คือ 1/√3-5√2
4. อินเวอร์สการคูณของ abc คือ – abc
5. อินเวอร์สการคูณของ – 14/3 คือ – 3/
6. อินเวอร์สการคูณของ a + b คือ 1/a + b
7. อินเวอร์สการคูณของ -a-b-c คือ 1/ -a-b-c
8. อินเวอร์สการคูณของ a-2b/2 คือ 2/a-2b
6. สมบัติการแจกแจง
ถ้า a , b และ c ε R แล้ว a ( b + c ) = a b + ac และ ( b + c ) a = ba + ca
เช่น 2 , 3 และ 4 ε R แล้ว 2 ( 3 + 4) = ( 2υ 3 ) + ( 2υ4 )
หรือ ( 3 + 4 ) 2 = ( 3υ2 ) + ( 4υ2 )