ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน
การเขียนเศษส่วนให้อยู่นรูปทศนิยมและการเขียนทศนิยม ให้อยู่ในรูปเศษส่วนนั้น สามารถใช้หลักการเขียน ดังนี้
1. การเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยม แบ่งได้เป็น 2 กรณีดงันี้
1.1 กรณีที่เศษส่วนมีตัวส่วนเป็น 10 หรือ 100 หรือ 1000 หรือ … จะได้ค่าของเศษเป็นทศนิยม และมีจำนวนตำแหน่งของ
ทศนิยมเท่ากับจำนวนเลขศูนย์ของตัวส่วนโดยเศษส่วนที่เป็นบวกจะได้ทศนิยมที่เป็นบวกและเศษส่วนที่เป็นลบ จะไดท้ศนิยมที่เป็นลบ เช่น
1.2 กรณีที่เศษส่วนมีตัวส่วนไม่เป็น 10 หรือ 100 หรือ 1000 หรือ … จะมีวิธีการเขียน 2 วิธี ดังนี้
1.2.1 โดยการทำตัวส่วนให้เป็น 10 หรือ 100 หรือ 1000 หรือ … โดยนำจำนวนมาคูณ หรือ หารทั้งตัวเศษและตัวส่วนของ
เศษส่วนจำนวนนั้นแล้วดำเนินการหลักการเดียวกับข้อ 1.1 เช่น
1.2.2 โดยการนำตัวส่วนไปหารตัวเศษโดยเศษส่วนที่เป็นบวกจะได้ทศนิยมที่เป็นบวกและเศษส่วนที่เป็นลบจะได้
ทศนิยมที่เป็นลบ เช่น
ทศนิยมที่มีลักษณะดังเช่นในข้อ 1 ถึงข้อ 10 ข้างต้น เรียกว่า ทศนิยมซ้ำ
สำหรับทศนิยม เช่น 0.2 ถือว่าเป็นทศนิยมซ้ำ เช่นเดียวกัน เรียกว่า ทศนิยมซ้ำศูนย์ เพราะ 0.2 = 0.2000… „ 0.20
แต่ไม่นิยมเขียนกันจึงเขียนสั้น ๆ เพียง 0.2
ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า “เศษส่วนทุกจานวนไม่ว่าจะเป็นจำนวนบวกหรือลบ สามารถเขียนให้ อยู่ในรูปทศนิยมซ้ำได้”
เศษส่วนทุกจำนวนที่มีตัวเศษเป็นจำนวนเต็มและตัวส่วนเป็นจำนวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ สามารถเขียนเป็นทศนิยมซ้ำได้ เช่น
0.82000… เป็นทศนิยมซ้ำ ศูนย์ เขียนแทนด้วย 0.82 อ่านว่า ศูนย์จุดแปดสอง
0.666… เป็นทศนิยมซ้ำ หก เขียนแทนด้วย 0.6 อ่านว่า ศูนย์จุดหก หกซ้ำ
-0.7272… เป็นทศนิยมซ้ำ เจ็ดสอง เขียนแทนด้วย -0.72 อ่านว่า ลบศูนย์จุดเจ็ดสอง เจ็ดสองซ้ำ
0.3181818… เป็นทศนิยมซ้ำ หนึ่งแปด เขียนแทนด้วย 0.318 อ่านว่า ศูนย์จุดสามหนึ่งแปดหนึ่ง แปดซ้ำ
2. การเขียนทศนิยมให้อยู่ในรูปเศษส่วน การเขียนทศนิยมซ้ำ ให้อยู่ในรูปเศษส่วน ก็สามารถทำได้เช่นกัน แต่ในที่นี้จะพิจารณาเฉพาะการเขียนทศนิยมซ้ำ ศูนย์ให้อยู่ ในรูปเศษส่วน ซึ่งมีหลักการ ดังนี้
2.1 ให้นำตัวเลขหลังจุดทศนิยมทั้งหมดมาเขียนเป็นเศษส่วน
2.2 แล้วเขียนตัวส่วนด้วย 10 หรือ 100 หรือ 1000 หรือ … ซึ่งขึ้นอยู่กับจำนวนตำแหน่งของทศนิยมที่กา หนดมาให้ โดยตัวส่วนจะมี เลข 0 เท่ากับจำนวนตา แหน่งของทศนิยมนั้น ๆ และถ้าทศนิยมนั้นมีจำนวนเต็มอยู่หน้าจุดทศนิยม ก็ให้เขียนจำนวนเต็มนั้นไว้หน้าเศษส่วนด้วย โดยทศนิยมที่ เป็นบวกจะได้เศษส่วนที่บวก และทศนิยมที่เป็นลบ จะได้เศษส่วนที่เป็นลบ เช่น
ทศนิยม(Decimals)
1) ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม
1.1) ความหมายและรูปของทศนิยม
ทศนิยม เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำ นวนรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเกิดจำกกำรหำรจำ นวนที่อยู่ในรูปเศษส่วนโดยนำ
ตัวส่วนไปหำรตัวเศษแล้วได้ผลลัพธ์ที่ไม่ลงตัว หรือเป็นกำรบอกปริมำณของสิ่งต่ำงๆที่ไม่เต็มหน่วย
รูปทศนิยม
จำนวนที่เขียนในรูปทศนิยมจะมี ( . ) เป็นส่วนประกอบตัวเลขที่อยู่หน้ำจุดจะเป็นจำนวนเต็มส่วนตัวเลขที่อยู่หลังจุดเรียกว่าทศนิยม
การอ่านทศนิยม
ทศนิยมประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่อยู่หน้ำจุดเป็นจำนวนเต็มอ่านเช่นเดียวกันกับจำนวนเต็มหรือจำนวนนับโดยทั่วไป ส่วนที่อยู่หลังจุดจะอ่านทีละตัวเป็นเลขโดดตามตัวเลขที่มีเช่น 0.35 อ่ำนว่ำ ศูนย์จุดสามห้า
1.2) ค่าประจาหลักและการเขียนในรูปการกระจายการเขียนทศนิยมในรูปการกระจาย เขียนได้ในรูปผลบวกของผลคูณระหว่างเลขในแต่ละหลักกับค่าประจำหลักที่เลขโดดนั้นๆตั้งอยู่ค่าประจาหลักของทศนิยมUntitled
1.3) ค่าสัมบูรณ์ของทศนิยมค่าสัมบูรณ์ของจำนวนใดๆทำได้จากระยะที่จำนวนนั้นๆอยู่ห่างจาก 0 บนเส้นจำนวน
1.4) การเปรียบเทียบทศนิยมเราสามารถเปรียบเทียบทศนิยมสองจำนวนใดๆโดยใช้หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
1) การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นบวกสองจำนวนใดๆให้พิจารณาเลขโดดคู่แรกในตำแหน่งเดียวกันที่ไม่เท่ากันจำนวนที่มีเลขโดดในตำแหน่งนั้นมากกว่าจะเป็นจำนวนที่มากกว่า เช่น 2.35 ……. 3.26 3.14 …… 3.32
12.135 ……. 12.134 5.832 ……… 5.831
2) การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นลบสองจำนวนใดๆ ให้หาค่าสัมบูรณ์ของทั้งสองจำนวน จำนวนที่มีค่าสัมบูรณ์น้อยกว่าจะเป็นจำนวนที่มากกว่า
เช่น -1.83 ……. -2.85 -3.425 ……… -3.321
-5.143 ……… -5.137 -0.157 ………. -0.125
3) การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นบวกและทศนิยมที่เป็นลบ เนื่องจากทศนิยมที่เป็นบวกอยู่ทางขวาของ 0 ดังนั้นทศนิยมที่เป็นบวกจะมากกว่าทศนิยมที่เป็นลบเสมอ
2 ) การบวกและการลบทศนิยม
เราสามารถสรุปหลักเกณฑ์การบวกทศนิยมได้ดังนี้
1. การหาผลบวกระหว่างทศนิยมที่เป็นบวก ให้นำค่าสัมบูรณ์มาบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวนบวก
2. การหาผลบวกระหว่างทศนิยมที่เป็นลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์มาบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวนลบ
3. การหาผลบวกระหว่างทศนิยมที่เป็นบวกกับทศนิยมที่เป็นลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์มาลบกันแล้วตอบเป็นจำนวนบวกหรือลบตามจำนวนที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า
นอกจากนี้ เรายังสามารถใช้หลักเกณฑ์เดียวกันนี้ในการหาผลลบของทศนิยม โดยการเปลี่ยนรูปการลบให้อยู่ในรูปการบวกดังนี้
ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ำมของตัวลบ
เช่น 2.13 – 1.12 = 2.13 + (-1.12 )
3) การคูณและการหารทศนิยม
การคูณทศนิยม มีหลักการเช่นเดียวกับการคูณจำนวนเต็มโดยกำรเปลี่ยนทศนิยมทั้งตัวตั้งและตัวคูณให้เป็นจำนวนเต็มแต่จำนวนตำแหน่งของทศนิยมของผลลัพธ์จะเท่ากับผลบวกของจำนวนตำแหน่งของทศนิยมตัวตั้งและตัวคูณ
การหารทศนิยม มีหลักการดังนี้
1. ต้องทำ ตัวหารให้เป็นจำนวนเต็มโดยการนำ 10 , 100 , 1000 , . . . มาคูณทั้งตัวตั้งและตัวหาร
2. ถ้าตัวตั้งและตัวหารเป็นทศนิยมที่เป็นบวกให้นำค่าสัมบูรณ์มาหารกันแล้วตอบเป็นจำนวนบวก
3. ถ้าตัวตั้งและตัวหารเป็นทศนิยมที่เป็นลบให้นำค่าสัมบูรณ์มาหารกันแล้วตอบเป็นจำนวนบวก
4. ถ้าตัวตั้งเป็นจำนวนบวกและตัวหารเป็นจำนวนลบหรือตัวตั้งเป็นจำนวนลบและตัวหารเป็นจำนวนบวก
ให้นำค่าสัมบูรณ์ของตัวตั้งและตัวหารมาหารกันแล้วตอบเป็นจำนวนลบ
เศษส่วน (Fraction)
เศษส่วน หมายถึง จำนวนที่ใช้บอกปริมาณที่ไม่เป็นจำนวนเต็มซึ่งจะเขียนในรูป a b เมื่อ a และ b เป็นจำ นวนเต็ม โดยที่ b # 0
ชนิดของเศษส่วน แบ่งออกเป็นดังนี้
1) เศษส่วนแท้ หรือเศษส่วนสามัญ หมายถึงเศษส่วนที่มีตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน
2) เศษส่วนเกิน หมำยถึง เศษส่วนที่มีตัวเศษมากกว่าตัวส่วน
3) เศษส่วนจานวนคละ หมำยถึง เศษส่วนที่มีจำ นวนเต็มและเศษส่วนแท้รวมอยู่ด้วยกันข้อสังเกตเกี่ยวกับเศษส่วนจานวนคละ
3.1) เศษส่วนจำนวนคละสามารถเขียนในรูปผลบวกได้
3.2) เศษส่วนจำนวนคละสามารถเขียนในรูปเศษส่วนเกินได
การคูณและการหารเศษส่วน
การคูณเศษส่วน เป็นเศษส่วนที่ b และ d ไม่เท่ำกับศูนย์ ผลคูณของ a
หลักเกณฑ์กำรคูณจำ นวนเต็มและข้อตกลง
การหารเศษส่วน มีหลักกำรดังนี้
1) ถ้ำเป็นเศษส่วนจำ นวนคละให้เปลี่ยนเป็นเศษส่วนเกิน
2) เปลี่ยนเครื่องหมำยหำรเป็นเครื่องหมำยคูณ แล้วเปลี่ยนตัวหำรโดยกลับเศษเป็นส่วน กลับส่วนเป็นเศษ