สรุปย่อเนื้อหาเรื่อง ความสัมพันธ์และ ฟังก์ชัน(Function)ที่น่าสนใจ
- คู่อันดับ
- ผลคูณคาร์ทีเชียน
- สมบัติของผลคูณคาร์ทีเชียน
- กราฟของความสัมพันธ์
- อินเวอร์สของความสัมพันธ์ คืออะไร
- โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ คืออะไร
- ฟังก์ชัน คืออะไร
- การนิยามฟังก์ชัน
- รูปแบบของฟังก์ชัน
- วิธีการดูความสัมพันธ์ว่าเป็นฟังก์ชันหรือไม่
- ฟังก์ชันผกผันหรือฟังก์ชันอินเวอร์ส
- ตัวอย่างข้อสอบเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
- คณิต ม. ปลาย ต้องเรียนเรื่องอะไรบ้าง
- คอร์สเรียน Private ตัวต่อตัว
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
1)คู่อันดับ : เขียนคู่อันดับในรูป (a,b) โดยที่ a เป็นสมาชิกตัวหน้า และ b เป็นสมาชิกตัวคู่หลัง คู่อันดับสองคู่อันดับใดๆ จะเท่ากัน ก็ต่อเมื่อสมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลังของทั้งสองคู่อันดับนี้เท่านั้น
(a, b) = (c,d) เมื่อ a= c และ b = d
2) ผลคูณคาร์ทีเซียน : ผลคูณคสร์ทีเซียนของเซต A และ B เขียนแทนด้วย A x B หมายถึง เซตของคู่อันดับ (X , Y ) ทั้งหมด โดยที่ X เป็นสมาชิกเซต A และ Y เป็นสมาชิกของเซต B
A x B = {(x ,y) | x A และ y B }
เช่น A= { 1,2} และ B= {3, 4}
A x B = {(3,1 ), (1,4 ), (2,3), (2,4)}
B x A = {(3,1 ),(3,2) ,(4,1) ,(4,2)}
จากตัวอย่าง จะเห็นว่า A x B = B x A
3)ความสัมพันธ์: สับเซตของผลคูณคาร์เซียนของเซต A และเซต B ถ้าแทนเซตของความสัมพันธ์ด้วย r
r A x B แสดงว่า r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B
r A x B แสดงว่า r เป็นความสัมพันธ์ใน A
เช่น A = {1,3} และ B = {2,4,6}
A x B = {(1,2) , (1,4) , (1,6) , (3,2) , (3,4) , (3,6)}
ถ้า r เป็นความสัมพันธ์ “น้อยกว่า” จาก A ไป B
จะได้ว่า r = {(1,2) , (1,4) , (1,6) , (3,4) , (3,6)}
หรือ r = {(x , y) € A x B | x < y }
4) โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
บทนิยาม ให้ r เป็นความสัมพันธ์
โดเมน r : เซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน r เขียนแทนด้วย D
เรนจ์ของ r : เซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน r เขียนแทนด้วย R
เขียน D และ R ในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไข ได้ดังนี้
D = {x | (x , y) € r }
R = {y | (x , y) € r }
ถ้า r = {(1,2),(1,4),(1,6),(3,4),(3,6)
หรือ r = {(x,y)}€ A×B | x< y}
4.โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
บทนิยาม
โดเมนของ r : เซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน r เขียนแทนด้วย D
เรนจ์ของ r : เซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน r เขียนแทนด้วย R
เขียน D และ r ในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไข ได้ดังนี้
D = {x|(x,y)€}
R = {y|(x,y)€r}
ถ้า r={(a,1),(b,3),(c,5)}
จะได้ว่า D = {a,b,c} R = {1,3,5}
ผลคูณคาร์ทีเซียน
2. ผลคูณคาร์ทีเซียน(Cartesian product)
ให้ A และ B เป็นเซตสองเซตใด ๆ ผลคูณคาร์ทีเซียนของ A และ B
เขียนแทนด้วย A×B (อ่านว่า A ครอส B) เป็นเซตของคู่อันดับทั้งหมดที่เป็นไปได้
โดยที่สมาชิกตัวแรกของคู่อันดับเป็นสมาชิกของ A และสมาชิกตัวหลังของคู่อับดับ
เป็นสมาชิกของ B
นั้นคือ A×B = {(a , b) | a A , b B }
ตัวอย่างที่ 2.1
การหาผลคูณคาร์ทีเซียน
กำหนด A = {1,2,3} , B = {a,b}
1. A×B = { (1,a) , (1,b) , (2,a) , (2,b) , (3,a) , (3,b) }
2. B×A = { (a,1) , (a,2) , (a,3) , (b,1) , (b,2) , (b,3) }
3. A×A = { (1,1) , (1,2) , (1,3) , (2,1) , (2,2) , (2,3) , (3,1) , (3,2) , (3,3) }
4. B×B = { (a,a) , (a,b) , (b,a) , (b,b) }
ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B คือเซตของคู่อันดับ (a,b) ทั้งหมดซึ่ง a เป็นสมาชิกของเซต A และ b เป็นสมาชิกของเซต B และเขียนแทนด้วย A× B นั่นคือ A× B = { (a,b) | a ∈ A และ b ∈ B }
สมบัติของผลคูณคาร์ทีเซียน
กำหนด A, B และ C เป็นเซตใดๆ แล้ว
1.A× B ไม่จำเป็นต้องเท่ากับ B × A
A× B = B × A ก็ต่อเมื่อ A = B หรือ A = Ø หรือ B = Ø
A× B ≠ B × A ก็ต่อเมื่อ A ≠ B ≠ Ø
2. A × Ø = Ø × A = Ø
3. A × ( B ∪ C )= (A× B) ∪(A × C)
(A ∪ B) × C = (A× C) ∪(B × C)
4. A × ( B ∩ C ) = (A× B) ∩ (A × C)
(A ∩ B) × C = (A× B) ∩ (B × C)
5. A × ( B – C ) = (A× B) – (A × C)
(A – B) × C ) = (A× C) – (B × C)
6. ถ้า A ⊂ B แล้ว A × C ⊂ B × C
7. ถ้า A และ B เป็นเซตจำกัดแล้ว n( A × B ) = n(A) × n(B)
8. ถ้่า A เป็นเซตอนันต์ และ B เป็นเซตจำกัด ซึ่ง B ≠ Ø แล้ว A × B เป็นเซตอนันต์