หนี้สินหมุนเวียน
การไม่มีหนี้สิน เป็นลาภอันประเสริฐสุด ไม่ต้องมี หนี้สินหมุนเวียน ที่ต้องมีภาระผูกพันเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน ไม่ต้องแบกภาระอันหนักหน่วง แต่ด้วยความจำเป็น และเหตุผลในการดำรงชีวิตของแต่ละคนแล้วนั้น การกู้เงินจึงเป็นทางออกเดียวเลยก็ว่าได้
หนี้สินหมุนเวียน คืออะไร
หนี้สินหมุนเวียน คือ ภาระผูกพัน หรือหนี้สินที่มีระยะเวลาครบกำหนดชำระคืนภายใน 1 ปี โดยเริ่มจากวันที่เป็นหนี้สิน โดยจะมีการจ่ายชำระหนี้สินนั้นภายในระยะเวลาดำเนินงานตามปกติ หรือ กิจการควรมีสภาพคล่องมากพอเพื่อนำไปชำระหนี้สินให้ตรงตามกำหนดเวลา ซึ่งโดยทั่วไปแล้วความสามารถในการชำระหนี้สินระยะสั้น หรือหนี้สินหมุนเวียน จะแปรผันอยู่กับสินทรัพย์หมุนเวียนของกิจการ
หนี้สินหมุนเวียน มีอะไรบ้าง
1. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร
2. เจ้าหนี้การค้า
3. ตั๋วเงินจ่าย
4. เงินปันผลค้างจ่าย
5. เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี
6. หนี้สินหมุนเวียน
7. สั้นจากบุคคลอื่น หรือ ธุรกิจที่มีความเกี่ยวข้องกัน
หนี้สินหมุนเวียน คือ ภาระผูกพันซึ่งจะมีการกำหนดชำระภายใน 1 ปี โดยเริ่มจากวันที่เป็นหนี้สิน โดยจะมีการจ่ายชำระหนี้สินนั้นภายในระยะเวลาดำเนินงานตามปกติ ซึ่งอาจกระทำได้ในหลายลักษณะ เช่น จ่ายเงินสด จ่ายชำระด้วยสินทรัพย์หมุนเวียน การโอนสินทรัพย์อื่น รวมทั้งการเปลี่ยนภาระผูกพันเก่าให้กลายเป็นภาระผูกพันใหม่ ด้วยการก่อหนี้สินอื่น ๆ ขึ้นมาใหม่เพื่อใช้ในการโป๊ะชำระหนี้สินเดิม
หนี้สินหมุนเวียน มีกี่ประเภท
แม้ว่าลักษณะหนี้สินหมุนเวียนถูกจัดเป็นหนี้ระยะสั้น โดยประเภทของหนี้สินหมุนเวียนที่หลายคนอาจคุ้นหูหรือเคยใช้บริการ ได้แก่
- การเงินกู้ระยะสั้นจากธนาคาร
- การเงินกู้ยืมระยะยาว
- การเงินกู้ระยะสั้น
- หนี้สินหมุนเวียนอื่น ๆ ฯลฯ
การทำให้เด็กรู้คุณค่าของเงิน ปลูกฝังให้รู้จักการใช้เงินตั้งแต่ยังเล็ก นับเป็นเรื่องจำเป็น เพราะเมื่อโตขึ้น จะสามารถวางแผนการใช้เงินได้อย่างเหมาะสม ตามที่ได้ปูพื้นฐานไว้ เพื่อ หลีกเลี่ยงการเป็นหนี้ แล้ว ใช้ออมมาลงทุนให้ ผลสำเร็จทางธุรกิจ….
1. สอนให้รู้คุณค่าของเงิน
พ่อแม่สามารถสอนลูกได้ว่า เงินที่หามาได้ พ่อแม่ต้องตั้งใจ และต้องเหนื่อยแค่ไหน เมื่อได้เงินมาแล้วก็ต้องรู้คุณค่าของเงิน ใช้เงินอย่างไรให้คุ้มค่า แม้ว่าเงินจะสามารถซื้อของที่ต้องการได้ แต่ก็ควรรู้ว่าอะไรจำเป็นไม่จำเป็น เพราะเงินที่ได้มานั้นมีวันหมดไป หากใช้โดยไม่วางแผน
2. สอนให้รู้จักทำบัญชีรายรับรายจ่าย
มื่อเด็กๆ ได้รับเงินค่าขนมจากพ่อแม่แล้ว อย่าลืมสอนให้ “เก็บก่อนใช้” โดยแบ่งเก็บไว้ก่อน 10% เช่น ได้เงินค่าขนม 100 บาท ให้เก็บเป็นเงินออมก่อน 10 บาท แล้วที่เหลือให้ทำบัญชีรายรับรายจ่าย เพื่อควบคุมและรับรู้พฤติกรรมการใช้เงินของตัวเองว่าใช้จ่ายไปกับอะไรบ้าง เหลือเก็บเท่าไร ต่อไปจะได้บริหารวางแผนการใช้เงินของตัวเองอย่างเป็นระบบ และเป็นการปลูกฝังวินัยการวางแผนทางการเงินอีกด้วย
3. สอนการออมที่คุ้มค่าที่สุด
สอนให้เด็กรู้จักการเก็บออม โดยให้นำเงินที่ได้เป็นค่าขนม แบ่งไว้ออมหยอดกระปุกทุกวัน ฝึกจนเป็นนิสัยติดตัว และบอกถึงประโยชน์ของการออมเงิน ซึ่งกิจกรรมการนับเหรียญ และแบงค์ ถือเป็นกิจกรรมที่ทำให้รู้สึกตื่นเต้นและสนุกสนานกับการนับเงิน และเห็นคุณค่าของเงิน รู้จักอดทนและรอคอยได้ดี เพราะกว่าจะเก็บเงินได้ครบตามต้องการก็ต้องใช้เวลา เมื่อครบตามต้องการแล้วให้เลือกการเก็บออมที่สามารถต่อยอดเงินออมของตัวเองได้ ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว อาทิ ออมเงินวันละ 1 บาท พอมีเงินครบ 50 บาท ก็นำมาออมกับกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) เราจะได้เงินสมทบเพิ่มจากรัฐบาล 50% ของเงินออม คิดเป็นเงิน 25 บาท สูงสุด 600 บาทต่อปี
4. สอนให้เก็บเงินซื้อของที่อยากได้เอง
วิธีนี้จะทำให้เด็กเห็นความสำคัญของสิ่งของ จะได้รู้ว่ากว่าจะได้ของแต่ละอย่างมาต้องใช้เงินเท่าไร และกว่าจะเก็บเงินซื้อได้ต้องใช้เวลาแค่ไหน ซึ่งเป็นการสร้างนิสัยในการดูแลสิ่งของ ไม่ใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยไปกับสิ่งที่ไม่จำเป็น
5. สอนลูกด้วยการเป็นแบบอย่างที่ดีของพ่อแม่
เด็กมักเลียนแบบพฤติกรรมจากผู้ใหญ่ โดยเฉพาะพ่อแม่ และคุณครู เพราะอยู่ใกล้ชิดกันมากที่สุด ทำให้เห็นพฤติกรรมการใช้ชีวิตได้ชัดเจน ดังนั้นควรปลูกฝังนิสัยด้วยการเป็นแบบอย่างที่ดี เช่น ของอะไรที่ซ่อมแซมได้ก็นำมาซ่อมไม่จำเป็นต้องซื้อใหม่ เวลาพาไปซื้อของก็ซื้อแต่สิ่งที่จำเป็น อธิบายว่าอะไรควรซื้อ ไม่ควรซื้อ เป็นต้น
ขอบคุณข้อมูล
https://www.moneywecan.com/