ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ (probability)
การคาดคะเนของเรำมักจะทำอย่างคร่าวๆ เพียงเพื่อตัดสินใจปัญหำแต่ละข้อ และกำรคำดคะเนนั้นอำจจะถูกหรือผิดก็ได้ ในทำงคณิตศำสตร์มีกำร
กำหนดค่าเป็นตัวเลขเพื่อบอกค่าของกำรคาดคะเนว่ามีโอกาสจะเกิดขึ้นตำมที่คาดไว้มำกน้อยเพียงใดซึ่งเรียกว่าความน่ำจะเป็น
3.1 การทดลองความน่าจะเป็นและปริภูมิตัวอย่าง (Probability experiment and Sample Space) การทดลองความน่าจะเป็น (Probability experiment) หมำยถึงกระบวนกำรในกำรที่จะก่อให้เกิดชุดของข้อมูล เช่น กำรโยนเหรียญ กำรทอดลูกเต๋ำ หรือกำรเลือกไพ่จำกสำรับ กระบวนกำรเหล่ำนี้เป็นกำรทดลองที่ ทำให้ได้มำซึ่งผลลัพธ์ (outcome) เมื่อเรำโยนเหรียญหนึ่งเหรียญจะมีผลลัพธ์อยู่สองแบบที่เป็นไปได้คือ หัว หรือ ก้อย ผลของกำรทดลองที่ออกมำแตกต่ำงกันนั้นสะท้อนให้เห็นถึงควำมหมำยของคำว่ำ “ควำมไม่แน่นอน (Uncertainty)” ควำมน่ำสนใจจะอยู่ที่กำรศึกษำโอกาส (Chance) หรือควำมน่ำจะเป็นของกำรที่จะเกิดผลแบบใด
แบบหนึ่งว่าเป็นเท่าใดปริภูมิตัวอย่าง (Sample space) หมำยถึงเซตของผลลัพธ์ทั้งหมดของกำรทดลองควำมน่าจะเป็นใด ๆ
มักจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ S และผลแต่ละอย่ำงที่เกิดขึ้นหรือสมำชิกของแต่ละตัวของปริภูมิตัวอย่ำง เรียกว่า
จุดตัวอย่ำง (sample point) หรือ สมำชิก (element)
ตัวอย่าง 3.1 จงหำผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด (sample space) ของกำรทดลองต่อไปนี้
1. โยนเหรียญ 1 เหรียญ 1 ครั้ง
S = {H, T} โดยที่ H หมำยถึง หัวและ T หมำยถึง ก้อย
2. การทอดลูกเต๋ำ 1 ลูก 1 ครั้ง เมื่อสนใจแต้มที่ได้
S = {1,2,3,4,5,6}
3. การทอดลูกเต๋ำ 1 ลูก 1 ครั้ง เมื่อสนใจแต้มที่ได้ว่ำเป็นเลขคู่หรือเลขคี่
S = {แต้มคู่, แต้มคี่}
4. การโยนเหรียญ 2 อัน 1 ครั้ง
S = {HT,HH,TH,TT}
5. โยนเหรียญ 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋ำ 1 ลูก
S={H1,H2,H3,H4,H5,H6,T1,T2,T3,T4,T5,T6}
6. เพศของบุตรของครอบครัวหนึ่งที่มีบุตร 3 คน
S={MMM,MMF,MFM,FMM,FFF,FFM,FMF,MFF}
7. การโยนเหรียญ 3 อัน 1 ครั้ง เมื่อสนใจจำนวนเหรียญที่ขึ้นหัว
S = {0,1,2,3}