คณิตศาสตร์ ม. 3 ปริมาตรและพื้นที่ผิว
รูปทรง 3 มิตินี้ จะเป็นรูปทรงที่มีด้านกว้าง ด้านยาว และด้านสูง ซึ่งรูปทรง 3 มิตินี้ มีลักษณะที่เพิ่มเติมขึ้นมา คือ ความสูง โจทย์จึงสามารถถามได้ใน 2 ประเด็น คือ
- การหาพื้นที่ผิว
- การหาปริมาตร
รูปทรงที่เป็นรูปแบบ 3 มิติที่เราจะเรียนกันในที่นี้ประกอบไปด้วย
- ปริซึม
- ทรงกระบอก
- พีระมิด
- กรวย
- ทรงกลม
ในการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร เราควรมีพื้นฐานการหาพื้นที่ในรูปแบบ 2 มิติให้ดีเสียก่อน จึงจะสามารถหาพื้นที่ผิวและปริมาตรได้อย่างชำนาญและพลิกตามรูปทรงได้
การหาพื้นที่ผิว ตามชื่อของมัน คือ การหาพื้นที่รอบนอกที่เป็นผิวของวัตถุ ซึ่งจะประกอบจากรูป 2 มิติ ทำให้การหาพื้นที่ผิวนั้นใช้ความรู้ของการหาพื้นที่มาช่วย
การหาปริมาตร คือ การหาปริมาณของรูปทรง 3 มิติ
สูตรหาปริมาตรทรงกลม
สูตรหาปริมาตรทรงกลม = 4/3 r3
ตัวอย่าง ลูกโลหะทรงกลมตัน มีรัศมียาว 7 เซนติเมตร
นำไปหย่อนลงอ่างน้ำ ซึ่งมีน้ำเต็มอ่างพอดี น้ำที่ล้นออกมาจะมีปริมาตรประมาณเท่าใด
1.29.33 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2.205.33 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3.205.67 ลูกบาศก์เซนติเมตร
4.1437.33 ลูกบาศก์เซนติเมตร
เฉลย (4) 1437.33 ลูกบาศก์เซนติเมตร
วิธีทำ จากสูตรปริมาตรทรงกลม = 4/3 r3
แทนค่า = 4/3 (7)(7)(7)
สูตรปริมาตรทรงกระบอก
สูตรหาปริมาตรทรงกระบอก = r2h
ตัวอย่าง
โลหะรูปทรงกระบอกมีรัศมี 5 เซนติเมตรสูง 12 เซนติเมตรโลหะชิ้นนี้จะมีปริมาตรเท่าใด
วิธีทำ จากสูตรปริมาตรทรงกระบอก = r2h
และจะต้องมีปริมาตรทรงกระบอก = (5)(5)(12)
= 300 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สูตรปริมาตรกรวย
สูตรหาปริมาตรกรวย = ⅓ r2h
ตัวอย่าง
15 เซนติเมตรไปมากกว่านี้จะเท่ากับเท่าใด
วิธีทำ จากสูตรปริมาตรกรวย = ⅓ r2h
จะได้เท่ากับ = ⅓ (10)(10)(15)
= 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สูตรหาปริมาตรลูกบาศก์
สูตรหาปริมาตร สี่เหลี่ยมด้านเท่า = ด้าน x ด้าน x ด้า
ตัวอย่าง
จงหาว่ามีปริมาตรเท่าใด
วิธีทำ จากสูตรปริมาตรลูกบาศก์ = ด้าน x ด้าน x ด้าน
จะได้ = 5 x 5 x 5 = 125 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สูตรปริมาตรทรงพีระมิด
สูตรหาปริมาตรพีระมิด = ⅓ x พื้นที่ฐาน x สูง (ตรง)
ตัวอย่าง
มีความสูง 20 เซนติเมตรถามว่าปริมาตรของพีระมิดรูปนี้เท่ากับเท่าใด
วิธีทำ จากสูตรปริมาตรของพีระมิด = ⅓ x พื้นที่ฐาน x สูง (ตรง)
จะได้ = ⅓ x 10 x 15 x 20 = 1000 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สูตรปริมาตรปริซึม
สูตรหาปริมาตรปริซึม = กว้าง x ยาว x สูง
ตัวอย่าง
วิธีทำ จากสูตรปริมาตรปริซึม = กว้าง x ยาว x สูง
จะได้ = 3 x 4 x 8 = 96 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สูตรพื้นที่ผิวทรงกลม
สูตรหาพื้นที่ผิวทั้งหมดทรงกลม = 4r2
ตัวอย่าง
วิธีทำ
จากสูตรพื้นที่ผิวทั้งหมดของทรงกลม = 4r2
จะได้ = 4(10)(10) = 400 ลูกบาศก์เซนติเมตร
( รอใส่พายอาร์ )
สูตรพื้นที่ผิวทรงกระบอก
สูตรหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอก
= พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ฐานสองด้าน
= 2rh + 2r2
ตัวอย่าง
วิธีทำ จากสูตรพื้นที่ผิวของทรงกระบอก
= พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ฐาน 2 ด้าน
จะได้ = 2rh + 2r2
แทนค่า = 2(10)(20) + 2(10)(10)
= 400 + 200 = 600
( รอใส่พายอาร์ )
สูตรพื้นที่ผิวทรงกรวย
สูตรหาพื้นที่ผิวกรวย = rl + r2
ตัวอย่าง
08 cm ถามว่าพื้นที่ผิวกรวยรูปนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด
วิธีทำ จากสูตรพื้นที่ผิวกรวย = rl + r2
แทนค่า จะได้ = (18)(10) + (18)(18)
= 180 + 324 = 504
( รอใส่พายอาร์ )
สูตรพื้นที่ผิวทรงลูกบาศก์
สูตรพื้นที่ผิวลูกบาศก์ = 6 x (ด้าน x ด้าน)
ตัวอย่าง
วิธีทำ
จากสูตรพื้นที่ผิวลูกบาศก์ = 6 x (ด้าน x ด้าน) = 6 x 15 x 15 =1350 ตารางเซนติเมตร
สูตรพื้นที่ผิวทรงพีระมิด
สูตรหาพื้นที่ผิวพีระมิด = พื้นที่ผิวทั้งหมด = พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ฐานสามเหลี่ยม
- พื้นที่ผิวข้าง (หาได้ 2 วิธี)
1. จากสูตร พื้นที่ผิวข้าง = ½ x ความยาวรอบรูปของฐาน x สูง(เอียง)
2.หาพื้นที่ผิว 1 หน้า (คือพื้นที่ของสามเหลี่ยม)
คูณพื้นที่ผิว 1 หน้า ด้วย จำนวนหน้า
ตัวอย่าง
6 เซนติเมตร
วิธีทำ
จากสูตรพื้นผิวข้างของพีระมิดห้าเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า = 1/2 x ความยาวของฐาน x สูงเอียง
จะได้ = 1/2 x (5×10) x 6
= 150 ตารางเซนติเมตร
สูตรพื้นที่ผิวทรงปริซึม
สูตรหาพื้นที่ผิวปริซึม = พื้นที่ผิวทั้งหมด = พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ฐานทั้งสอง
พื้นที่ผิวข้าง = ความยาวรอบรูปของฐาน x สูง(ตรง)
ตัวอย่าง
ขนมกาละแมก้อนหนึ่งมีลักษณะเป็นปริซึมฐานสามเหลี่ยมหน้าจั่วด้านหนึ่งยาว 13 เซนติเมตรอีกด้านยาว 10 เซนติเมตรความสูงอยู่ที่ 100 cm ดังต่อไปนี้จะต้องใช้กระดาษห่อขนมกาละแมชิ้นนี้โดยใช้พื้นที่อย่างน้อยเท่าใด
วิธีทำ จากสูตร พื้นที่ผิวปริซึม = พื้นที่ผิวทั้งหมด = พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ฐานทั้งสอง
พื้นที่ผิวข้าง = ความยาวรอบรูปของฐาน x สูง(ตรง)
ขั้นตอนที่ 1 หาความสูงกำหนดให้ H เท่ากับความสูงของสามเหลี่ยม
ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ 132 = 52 + h2
169 = 25 + h2
h2 = 144
h = 12
หาพื้นที่ผิว พื้นที่ฐาน (รูปสามเหลี่ยมมี 2 รูป)
= 2 x (½ x ฐาน x สูง)
= 2 x ½ x 10 x 12
= 2 x 60 = 120 ลูกบาศก์เซนติเมตร
พื้นที่ด้านข้าง (รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามี 3 รูปต่างขนาดกัน)
= (10×100) + (13 x 100) + (13 x 100)
= 1000 + 1300 + 1300 = 3600 ตารางเซนติเมตร